การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค่าของทุน The Cost of Capital
Advertisements

การวิเคราะห์งบการเงิน
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
SYRUS Securities PLC. ก้าวสู่การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ SYRUS Securities PLC.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และ สมการทางบัญชี
การบัญชีวิสาหกิจชุมชน
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Statement of Cash Flows
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
The Analysis And Use of Financial Statement
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
งบลงทุน Capital Budgeting
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
Financial Management.
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
สหกรณ์การเกษตรปลาย พระยา จำกัด จังหวัด กระบี่. ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจ สหกรณ์การเกษตรปลายพระยา จำกัด ปี ทุนดำเนินงาน มีอัตราลดลง ร้อยละ 3.38 ทุนภายใน.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 7 เงินสดและหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด (Cash and Marketable Securities Management) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
เปรียบเทียบดัชนีชี้วัด ปีงบประมาณ
สินค้าคงเหลือ.
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
หน่วยที่ 13 การจัดทำรายงาน.
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การจัดทำแผนธุรกิจ.
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
การวิเคราะห์งบการเงิน
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
A.Petcharee Sirikijjakajorn
บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
เอกสารประกอบคำบรรยาย เรื่อง
สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis) บทที่ 3 การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ผู้ที่สนใจความแข็งแกร่งและจุดอ่อนทางการเงิน รวมทั้งฐานะทางการเงินของธุรกิจ ได้แก่ เจ้าของกิจการ เจ้าหนี้ระยะยาว เจ้าหนี้ระยะสั้น ผู้บริหาร อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การวิเคราะห์ทางการเงิน (Finance Analysis) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ด้าน ดังนี้ การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) สามารถแบ่งออกเป็น การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจ การวิเคราะห์ทางการเมือง   ภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมนั้นๆ ข้อมูลของบริษัท อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) การวิเคราะห์โดยวิธีย่อส่วน (Common Size) การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน (Ratio Analysis) การวิเคราะห์แนวโน้ม (Trend Analysis) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การวิเคราะห์โดยวิธีย่อส่วน (Common Size) 1.การย่อส่วนงบดุล (Common Size Balance Sheet) เป็นการวิเคราะห์งบดุล โดยใช้สินทรัพย์รวมเป็นฐาน ร้อยละ 100 (100 %) หรือหนี้สินรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นเป็นฐาน ร้อยละ 100 (100 %) จะทำให้ทราบว่ากิจการหาเงินทุนมาจากแหล่งใดบ้าง มีความเสี่ยงอย่างไร และนำเงินไปลงทุนในสินทรัพย์อะไรบ้าง อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

2.การย่อส่วนงบกำไรขาดทุน (Common Size Income Statement) เป็นการวิเคราะห์งบกำไรขาดทุน โดยใช้ยอดขายเป็นฐาน ร้อยละ 100 (100 %) จะทำให้ทราบว่ากิจการมีต้นทุนและการบริหารงานเป็นอย่างไร รวมทั้งทราบเกี่ยวกับรายจ่ายและ รายรับของ กิจการ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน (Ratio Analysis)  มีการแบ่งได้เป็น 4 ประเภทดังนี้ อัตราส่วนสภาพคล่องทางการเงิน (Liquidity Ratio) อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการก่อหนี้ (Leverage Ratio) อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการดำเนินงาน (Operating Ratio) อัตราส่วนวิเคราะห์ในการทำกำไร (Profitability Ratio) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

1.อัตราส่วนสภาพคล่องทางการเงิน (Liquidity Ratio) 1.1 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Ratio) หนี้สินหมุนเวียน 1.2 อัตราส่วนสินทรัพย์คล่องตัว (Quick Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงคลัง - ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า หนี้สินหมุนเวียน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

2.อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการก่อหนี้ (Leverage Ratio) 2.1 อัตราส่วนแห่งหนี้ = หนี้สินรวม x 100 (Debt Ratio) สินทรัพย์รวม 2.2 อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย(Time Interest Earned or Interest Coverage Ratio) = กำไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี ดอกเบี้ยจ่าย อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

3.อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการดำเนินงาน (Operating Ratio) 3.1 อัตราการหมุนของลูกหนี้ = ยอดขายเชื่อ (Account Receivable Turnover) ลูกหนี้ 3.2 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ = 360 (Average Collection Period) อัตราการหมุนของลูกหนี้ 3.3 อัตราการหมุนของสินคงคลัง = ต้นทุนสินค้าที่ขาย (Inventory Turnover) สินค้าคงคลัง อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

3.4 อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวร = ยอดขายสุทธิ 3.4 อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวร = ยอดขายสุทธิ (Fixed Asset Turnover) สินทรัพย์ถาวร 3.5 อัตราการหมุนของสินทรัพย์รวม= ยอดขายสุทธิ (Total Asset Turnover) สินทรัพย์รวม อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

4. อัตราส่วนวิเคราะห์ในการทำกำไร (Profitability Ratio) 4.1 อัตราผลตอบแทนขั้นต้น = กำไรขั้นต้น x 100 (Gross Profit Margin) ยอดขายสุทธิ 4.2 อัตราผลตอบแทนจากกำไรสุทธิ = กำไรสุทธิ x 100 (Net Profit Margin) ยอดขายสุทธิ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

4.3 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (Return On Asset) = กำไรสุทธิ x 100 4.4 อัตราผลตอบแทนจากผู้ถือหุ้น (Return On Equity) = กำไรสุทธิ x 100 ส่วนของผู้ถือหุ้น อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การวิเคราะห์เปรียบเทียบสามารถทำได้ดังนี้ 1. การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงินของบริษัทเดียวกัน 2. การเปรียบเทียบอัตราส่วนของบริษัทกับบริษัทคู่แข่ง 3. การเปรียบเทียบกับอัตราส่วนเฉลี่ยของกลุ่มอุตสาหกรรม 4. การเปรียบเทียบกับอัตราส่วนมาตรฐาน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต