Software Quality Assurance

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to C Introduction to C.
Advertisements

เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
Distributed Administration
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
รายวิชา การเขียนเว็บไซต์
การเขียนผังงาน.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software design and development) 4 (3-2-6)
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
การจัดหา การติดตั้ง และการบำรุงรักษาระบบ
สรุปข้อดีข้อเสีย Proprietary VS Off-the-shelf Software
Surachai Wachirahatthapong
Operating System ฉ NASA 4.
SCC - Suthida Chaichomchuen
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
Software Quality Management
Language Evaluation Criteria
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
บทที 1 เริ่มต้น Windows XP
System Integration.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
CSC431 Computer Network System
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
Geographic Information System
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
1. ความหมายฐานข้อมูล 2. โครงสร้างของฐานข้อมูล
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
chatper 2 Software Requirement
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4/2 โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ
หลักการแก้ปัญหา.
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
โครงสร้าง ภาษาซี.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
ระบบฐานข้อมูล.
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Software Quality Assurance บทที่ 8 Software Quality And Software Quality Assurance

? คุณภาพ (Quality) ใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ คงทน อายุการใช้งานยาวนาน

คุณภาพของซอฟท์แวร์( Software Quality) * ถูกต้อง * ตรงตามความต้องการ * เข้าใจง่าย * ใช้ง่าย * เปลี่ยนแปลงง่าย * เชื่อมโยงกับระบบอื่นได้ง่าย Information

คุณสมบัติของS/Wที่ผู้ใช้ต้องการ * ใช้งานได้ ( Useability ) * บำรุงรักษาง่าย( Maintainability ) * ทดสอบได้ง่าย ( Testability ) * ใช้กับเครื่องอื่นได้ง่าย( Portability )

ลักษณะของคุณภาพมี 2 ระดับ * คุณภาพระดับสูง เรียก องค์ประกอบของคุณภาพ (Quality Factors ) * คุณภาพระดับรอง เรียก เกณฑ์ของคุณภาพ (Quality Criteria ) McCall

องค์ประกอบของคุณภาพ(Quality Factors ) แบ่งได้ 3 กลุ่ม ดังนี้ * Product Operation * Product Revision * Product Transition

Quality Factors * Product Operation ความถูกต้อง (Correctness) ความน่าเชื่อถือ (Reliability) ประสิทธิผล (Efficiency) ความคงทนต่อการเปลี่ยนแปลง (Integrity) ใช้งานได้ (Useability)

Quality Factors * Product Revision บำรุงรักษาง่าย (Maintainability) ทดสอบง่าย (Testability) มีความยืดหยุ่น (Flexibility)

Quality Factors * Product Transition ใช้ได้กับเครื่องทั่วไป (Portability) นำกลับมาใช้ใหม่ได้ (Reuseability) ใช้งานได้หลายงาน(Interoperability)

เกณฑ์ของคุณภาพ (Quality Criteria) Consistency Consisness Data commonality Error Tolerance Execution Efficiency Expandability Access Audit Access Control Accuracy Communication Commonality Completeness Commicativeness

Quality Criteria (cont.) Generality H/W Independence Instrumentation Modularity Operability Self-Documentation Simplicity Software System Independence Storage Efficiency Traceability Training

Access Audit การเข้าถึงตัวซอฟต์แวร์และข้อมูล วิธีการสำหรับควบคุมและป้องกัน การเข้าถึงตัวซอฟต์แวร์และข้อมูล

Access Control ซอฟต์แวร์เป็นไปตามมาตรฐานหรือไม่ ระดับความยากง่ายที่สามารถตรวจสอบว่า ซอฟต์แวร์เป็นไปตามมาตรฐานหรือไม่ มาตรฐานของซอฟท์แวร์

Accuracy ระดับความละเอียดของการคำนวณและ การพิมพ์ผลลัพธ์

Communication Commonality ระดับมาตรฐานที่โพรโตคอลและ การเชื่อมต่อใช้

Completeness ระดับหรือปริมาณความต้องการที่ โปรแกรมทำได้ตามวัตถุประสงค์

Communicativeness ระดับความยากง่ายที่ Input/ Output สามารถเข้าใจได้

Consisness ความกระชับของ Source Code โดยนับจาก บรรทัดของคำสั่ง

Consistency การ Implement ตลอดจนสัญญลักษณ์ การใช้วิธีการในการออกแบบ, การ Implement ตลอดจนสัญญลักษณ์ ที่เป็นแบบเดียวกันตลอดทั้งโครงการ

Data Commonality การใช้รูปแบบการแทนข้อมูล ที่เป็นมาตรฐาน

Error Tolerance ต่อเนื่องภายใต้เงื่อนไขที่อาจก่อให้เกิด ความผิดพลาดได้ ระดับความมั่นใจในการทำงานอย่าง ต่อเนื่องภายใต้เงื่อนไขที่อาจก่อให้เกิด ความผิดพลาดได้

Execution Efficiency ประสิทธิภาพในการทำงาน ของซอฟต์แวร์

Expandability หรือหน้าที่ของซอฟต์แวร์ที่จะสามารถ ขยายได้ ระดับของความต้องการหน่วยความจำ หรือหน้าที่ของซอฟต์แวร์ที่จะสามารถ ขยายได้

Generality อเนกประสงค์ที่ซอฟต์แวร์จะสามารถ ใช้งานได้ ระดับของความกว้างหรือความเป็น อเนกประสงค์ที่ซอฟต์แวร์จะสามารถ ใช้งานได้

Hardware Independence ระดับของซอฟต์แวร์สามารถขยายได้ โดยไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง

Instrumentation จัดการการใช้งานของตนเอง หรือสามารถ ระบุความผิดพลาดได้ ระดับความสามารถที่ซอฟต์แวร์จะ จัดการการใช้งานของตนเอง หรือสามารถ ระบุความผิดพลาดได้

Modularity แยกออกเป็นโมดูลที่เป็นอิสระต่อกัน ระดับที่โครงสร้างของซอฟต์แวร์สามารถ แยกออกเป็นโมดูลที่เป็นอิสระต่อกัน

Operability ซอฟต์แวร์สามารถทำงานได้ ระดับความยากง่ายในการ Operate เพื่อให้ ซอฟต์แวร์สามารถทำงานได้

Self-Documentation การทำงานของโปรแกรมอยู่ภายใน Source code ระดับความกระจ่างที่สามารถมีคำอธิบาย การทำงานของโปรแกรมอยู่ภายใน Source code

Simplicity ระดับความยากง่ายที่โปรแกรมสามารถ เข้าใจได้ ยากส์…ส์

Software System Independence ระดับที่ซอฟต์แวร์สามารถทำงานได้โดย ไม่ขึ้นกับสภาพแวดล้อม เช่น OS.

Storage Efficiency ปริมาณของหน่วยความจำที่ใช้ 1865 GB

Traceability จากองค์ประกอบไปยังข้อกำหนดความ ต้องการได้ คุณสมบัติที่ซอฟต์แวร์สามารถเชื่อมโยง จากองค์ประกอบไปยังข้อกำหนดความ ต้องการได้

Training จนสามารถใช้ซอฟต์แวร์ได้ ระดับความยากง่ายที่ผู้ใช้มือใหม่จะเรียนรู้ จนสามารถใช้ซอฟต์แวร์ได้

SQA. Term --- The Player review leader producer reviewer recorder standards bearer (SQA) producer maintenance reviewer recorder user

SQA. Term มีหน้าที่ วิจารณ์ ให้คำแนะนำ ตรวจสอบ