ทีมวิจัย ที่ปรึกษา ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ 3 อำเภอ ระดับตำบล 3 ตำบล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

สรุปผลการดำเนินงาน โครงการอบรมสุขภาพจิตในครอบครัว
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนารูปแบบยุทธศาสตร์ สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ปี 2554 จังหวัดเชียงราย

ทีมวิจัย ที่ปรึกษา ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ 3 อำเภอ ระดับตำบล 3 ตำบล นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงราย นายแพทย์เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมป้องกัน ระดับจังหวัด นางเรือนทอง ใหม่อารินทร์ นางศรีธร วสุธากานต์ นายประเสริฐ วันดี ระดับอำเภอ 3 อำเภอ ระดับตำบล 3 ตำบล

คำขวัญ จังหวัดเชียงราย “เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา”

ข้อมูลทั่วไป จังหวัดเชียงราย เขตการปกครอง 18 อำเภอ 124 ตำบล 1,751 หมู่บ้าน (456,672 หลังคาเรือน) 1 อบจ. 1 เทศบาลนคร (62 ชุมชน) 49 เทศบาลตำบล 90 อบต. (รวม อปท. 143 แห่ง)

ข้อมูลทั่วไป จังหวัดเชียงราย ประชากร ชาย 639,533 คน หญิง 655,529 คน รวม 1,295,062 คน ข้อมูลจากสำรวจ ณ 30 มิ.ย.2553

ข้อมูลทั่วไป จังหวัดเชียงราย ประชากร ชาย 588,923 คน หญิง 606,686 คน รวม 1,195,609 คน ข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ ณ 30 มิ.ย.2553

ทรัพยากรสาธารณสุขภาครัฐ โรงพยาบาลศูนย์ 1/759 แห่ง/เ โรงพยาบาลชุมชน 16 แห่ง 30 เตียง 8 แห่ง 60 เตียง 3 แห่ง 90 เตียง 4 แห่ง 120 เตียง 1 แห่ง สถานีอนามัย 211 แห่ง สสช. 3 แห่ง สสอ. 18 แห่ง สสจ. 1 แห่ง

อัตราตายด้วยสาเหตุที่สำคัญ 5 อันดับแรกจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2547–2553 ที่มา : มรณะบัตร

อัตราตายต่อแสนประชากรปี 2549-2553 จังหวัดเชียงราย อัตราต่อแสนประชากร

สาเหตุการป่วยโรคไม่ติดต่อจังหวัดเชียงราย อัตราต่อแสนประชากร

วัตถุประสงค์ ทั่วไป พัฒนารูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ระดับพื้นที่ เพื่อเป็นต้นแบบ/ขยายผลในพื้นที่อื่น เฉพาะ หาแนวทาง/รูปแบบในระดับชุมชน ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส การร่วมมือของภาคีเครือข่าย/การมีส่วนร่วมของชุมชน จัดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน ขยายเครือข่ายการเรียนรู้ ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรค

รูปแบบการวิจัย การปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR)

กรอบแนวคิด INPUT บุคลากรภาคีเครือข่าย วัสดุ/อุปกรณ์ แนวคิด/กระบวนการ งบประมาณ PROCESS ใช้ PAR โดย ชุมชน อปท. สธ. ภาคีในชุมชน OUTPUT รูปแบบวิถีไทย เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชน มีภาคีเครือข่าย เกิดกระบวน การเรียนรู้ OUTCOME ปัญหาโรคเรื้อรังลดลง ลดภาวะแทรกซ้อน ลดการเสียชีวิต ลดภาระค่าใช้จ่าย

เป้าหมาย ในพื้นที่ชุมชน 3 แห่ง ของจังหวัดเชียงราย บ้านปี้ ตำบลหงาว อำเภอเทิง บ้านสันมะเค็ด ตำบลเวียงกาหลง อำเภอเวียงป่าเป้า บ้านป่าสัก ตำบลป่าสัก อำเภอเชียงแสน

ระยะเวลา ปีงบประมาณ 2554

วิธีการดำเนินงาน ประชุมทีมงานวิจัย ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแกนนำ/พื้นที่ หารูปแบบแนวทางการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่ ใช้การวิเคราะห์ชุมชน การสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เจาะลึก 4. ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามประเด็นที่ได้ - ชุมชน สร้างมาตรการทางสังคม - อปท.บริหารจัดการทรัพยากร/สนับสนุน สร้างมาตรการท้องถิ่น - สธ. สร้างความร่วมมือ มาตรการทางวิชาการ - ภาคี / เครือข่าย ในชุมชน สนับสนุนการดำเนินงาน

วิธีการดำเนินงาน(ต่อ) จัดกระบวนการเรียนรู้ เรื่องการวิเคราะห์ชุมชน จัดการความรู้ สรุปเวที ถอดบทเรียนเป็นระยะ รวบรวม วิเคราะห์ สรุป นำเสนอ ขยายเครือข่าย

งบประมาณ จำนวน 400,000.- บาท จาก สนย. เป็นค่าตอบแทนใช้สอย วัสดุ งบประมาณ จำนวน 400,000.- บาท จาก สนย. เป็นค่าตอบแทนใช้สอย วัสดุ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้แนวทาง / รูปแบบการดำเนินงาน เกิดความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมของชุมชน มีเครือข่ายระดับชุมชนเพิ่มมากขึ้น

ผลการขับเคลื่อน. ประเด็นหมู่บ้านสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย จังหวัดเชียงราย

การประชุม / ประชาคมชุมชน/วิเคราะห์ชุมชน

จัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

ของบ้านปี้ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนแยง อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SRM)เรื่องหมู่บ้านสุขภาพดีวิถีไทย ของบ้านปี้ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนแยง อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย มีพฤติกรรมที่ลดเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันเบาหวาน ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัว(อาหารมั่นคง) ส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องเหมาะสม สนับสนุนการกินอาหารลดหวานมันเค็ม ส่งเสริมการลดพฤติกรรมเสี่ยง(เหล้า/บุหรี่) ประชาชน มีรูปแบบชุมชนต้นแบบลดเสี่ยง ลดโรค มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพ มีคนต้นแบบที่ดี อย่างหลากหลาย มีมาตรการทางสังคมและขยายไปยัง ชุมชนอื่น q อสม.ช่วยคัดกรอง/เยี่ยมบ้านและเป็นคู่หู NGO(กลุ่มบ้านจุ้เมืองเย็น/ภาครัฐสนับสนุนวิชาการและเป็นที่ปรึกษา กลุ่มองค์กรชุมชน/วัดร่วมสนับสนุนกิจกรรม วิทยุชุมชนกระพือข่าว ภาคี สสจ./สปสช.เทศบาล.สนับสนุนงบประมาณ มีการประชาสัมพันธ์เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย มีการจัดการความรู้และค้นหา/พัฒนานวัตกรรม มีการสร้างขยายเครือข่ายทีมีประสิทธิภาพ กระบวนการ มีการคืนข้อมูลสุขภาพสู่การแก้ปัญหา(แผน) ข้อมูลแน่น ถูกต้อง ชัดเจน และนำไปใช้ ทีมแกนนำชุมชนมีความเข้มแข็ง พื้นฐาน บุคลลากรแกนนำมีความรู้และมีความพร้อม ภาครัฐได้แก่ จนท.สธ/ครู/กศน./วิทยาลัยการอาชีพ 23

ของบ้านปี้ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนแยง อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)เรื่องหมู่บ้านสุขภาพดีวิถีไทย ของบ้านปี้ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนแยง อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย มีพฤติกรรมที่ลดเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันเบาหวาน ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัว(อาหารมั่นคง) ส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องเหมาะสม สนับสนุนการกินอาหารลดหวานมันเค็ม ส่งเสริมการลดพฤติกรรมเสี่ยง(เหล้า/บุหรี่) ประชาชน มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ มีคนต้นแบบ มีมาตรการทางสังคม อสม.ช่วยคัดกรอง/เยี่ยมบ้านและเป็นคู่หู NGO(กลุ่มบ้านจุ้เมืองเย็น/ภาครัฐสนับสนุนวิชาการและเป็นที่ปรึกษา กลุ่มองค์กรชุมชน/วัดร่วมสนับสนุนกิจกรรม วิทยุชุมชนกระพือข่าว ภาคี สสจ./สปสช.เทศบาล.สนับสนุนงบประมาณ มีการประชาสัมพันธ์เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย มีการจัดการความรู้และค้นหา/พัฒนานวัตกรรม มีการสร้างขยายเครือข่ายทีมีประสิทธิภาพ กระบวนการ มีการคืนข้อมูลสุขภาพสู่การแก้ปัญหา(แผน) ข้อมูลแน่น ถูกต้อง ชัดเจน ทีมแกนนำชุมชนมีความเข้มแข็ง พื้นฐาน บุคลลากรแกนนำมีความรู้และมีความพร้อม ภาครัฐได้แก่ จนท.สธ/ครู/กศน./วิทยาลัยการอาชีพ 24

สร้างมาตรการทางสังคม ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง รณรงค์ไม่เลี้ยงเหล้า สุรา เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ลาบดิบทุกชนิด น้ำชา กาแฟและขนมหวานในงานฌาปนกิจศพ เลิกเลี้ยงเหล้าในงานบุญ งานศพ ห้ามเล่นการพนัน ไม่วางจานบุหรี่บนโต๊ะ ปรับบ้านงานที่อนุญาตให้มีการเล่นการพนันบ้านละ 2000 บาท และคนละ 2000 บาท ลด อาหาร หวาน - มัน - เค็ม ไม่เลี้ยงน้ำอัดลมในงานรื่นเริงต่างๆ

มีการค้นหาคนต้นแบบ มีการค้นหาคนต้นแบบและขยายจำนวนมากขึ้น ทำให้เกิดกระแสการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ทุกคนทราบเป้าหมายร่วมกัน หันมาใส่ใจสุขภาพของตนเอง ครอบครัว

คุณยายมอญ แก้วข้าว อายุ 65 ปี ผัก+สมุนไพรริมรั้ว...ยากาย ยาใจ ต้านเบาหวาน ความดันโลหิตสูง คุณยายมอญ แก้วข้าว อายุ 65 ปี ยารักษาเบาหวานริมรั้วของคุณยายมอญ “ที่บ้านยายปลูกพืชผักหลายอย่าง และทุกอย่างในบ้านก็ใช้เป็นยาได้ ที่กินประจำคือ ใบรางจืด ใบเตย ย่านาง ยอดมะยม อย่างละเท่าๆ กันมัดรวมกันให้ได้ 1 กำมือ ต้มกับน้ำ 2 ลิตร กินตอนอุ่นๆ ครั้งละแก้ว เป็นสูตรยาพื้นบ้านที่ช่วยลดน้ำตาลได้”

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

สร้างทีมจิตอาสา

ออกกำลังกายตามวิถีชีวิต ออกกำลังกายตามวิถีชีวิต เช่น ปั่นจักรยานไปตลาด เดิน วิ่ง โยคะ ตามความเหมาะสมของวัย ในซอยสุขภาพ หรือ ถนนสุขภาพ รำวงย้อนยุค

เกษตรอินทรีย์ ทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ ปลูกสมุนไพรในชุมชน ปลูกพืชสวนครัว

การอนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ปลา และปลูกป่า วันเข้าพรรษา โดยเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย ร่วมกับบ้าน วัดและโรงเรียน

มีการดำรงชีวิตแบบพอเพียง มีบ้านตัวอย่าง ที่มีพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ อาหารปลอดภัย ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ทุกครัวเรือน ปลูกผักสวนครัว อย่างน้อย ๕ ชนิด

พัฒนาและปรับปรุงบ้านเรือน พัฒนาและปรับปรุงบ้านเรือน “ หน้าบ้านน่ามอง ในบ้านน่าอยู่ หลังบ้านน่าดู รั้วบ้านกินได้

ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น/วัฒนธรรม/ความเชื่อท้องถิ่น

ขยายผล/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

การผลิตสื่อ/การประชาสัมพันธ์

การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับจังหวัด

กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ผลลัพท์การดำเนินงาน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง   ปี้ ป่าสักน้อย สันมะเค็ด รวม ก่อนดำเนินการ 20 176 100 296 หลังดำเนินการ 15 125 74 214 ลดลง (ร้อยละ) 75 71.02 72.30

กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ปี้ ป่าสักน้อย สันมะเค็ด รวม ก่อนดำเนินการ 117 384   ปี้ ป่าสักน้อย สันมะเค็ด รวม ก่อนดำเนินการ 117 384 47 548 หลังดำเนินการ 89 256 33 378 ลดลง (ร้อยละ) 76.07 66.67 70.21 68.98

รูปแบบการดำเนินงานได้รับ ใช้กระบวนการคนต้นแบบ (Role Model) ขยายผลและขยายกลุ่มเป้าหมาย ใช้คนต้นแบบที่หลากหลาย เช่น ด้านวัฒนธรรมท้องถิ่น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดำรงชีวิตแบบพอเพียง การเกษตรแบบอินทรีย์ มีการแสวงหาคนต้นแบบให้มากยิ่งขึ้น การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น วิถีชุมชน วัฒนธรรมพื้นบ้าน ความร่วมมือของภาคีเครือข่าย (Partnership) ภาวะผู้นำของผู้ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทบาทของภาคีเครือข่าย ต้องทำอย่างต่อเนื่อง การบูรณาการอย่างแท้จริง การพัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่าย การพัฒนาหรือสร้างแรงจูงใจ/ความร่วมมือ อปท.สนับสนุนงบประมาณและร่วมขับเคลื่อน แกนนำชุมชน เช่นผู้นำ อสม.กลุ่มเยาวชน หรือกลุ่มต่างๆ ต้องร่วมกันขับเคลื่อน จนท.เป็นฝ่ายสนับสนุนและกระตุ้น

จุดแข็งของการนำวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น มาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เกิดความสามัคคี ความหวงแหน การศึกษาสืบค้น รื้อฟื้นและสืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมของรุ่นก่อน ๆ ที่มีในชุมชน เกิดกิจกรรมมากยิ่งขึ้น (ระยะเวลาและโอกาสตามปฏิทินชุมชน) สร้างกระบวนการเรียนรู้ด้านวัฒนธรรมประเพณีให้กับคนรุ่นหลังโดยเฉพาะเยาวชน ผู้สูงอายุรู้สึกถึงการมีคุณค่าในตนเอง/ลดภาวะซึมเศร้า การลดช่องว่างระหว่างวัย การปรับใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่นการรำวงย้อนยุค การขับซอ การใช้ท่ารำแบบดั้งเดิมมาประกอบการกำลังกาย เช่น ฟ้อนเจิง ตบมะผาบ ในกรณีผู้สูงอายุที่คนเดียว มีภาวะซึมเศร้า มีโรคเรื้อรังเช่น อัมพฤกษ์ปัมพาต โรคหัวใจ เบาหวานและความดัน การส่งเสริมสุขภาพจิต/สร้างกำลังใจ เช่นการสู่ขวัญ การสืบชะตา ทำบุญตานก๋วยสลากพัตร การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์พันธ์พืช โดยเฉพาะพืชผักพื้นบ้าน พืชสมุนไพร ป่าชุมชน มีกฎกติกาของชุมชน/มาตรการทางสังคมที่ใช้วัฒนธรรม/ประเพณีเป็นฐาน

ฟ้อนเจิง ตบมะผาบ สู้มะเร็งเต้านม คุณกนกวรรณ ยองเพชร อายุ 41 ปี ผู้หญิงอารมณ์ดี หน้าตาผิวพรรณผ่องใส หากไม่ได้นั่งคุยกัน คือผู้ป่วย ”มะเร็งเต้านม” กว่าจะมาถึงวันที่สุขภาพกลับมาดีเต็มร้อยอย่างนี้ เธอเล่าว่า “ตอนแรก เราไม่มีอาการเตือนอะไรเลย ทุกอย่างปกติ แล้วอยู่ๆ ก็เจอก้อนที่เต้านม พอรู้ว่าเป็นมะเร็ง จิตใจทรุด คิดแต่ว่าฉันต้องตาย ต้องตัดนมทิ้งทั้งเต้า ทำใจไม่ได้ รูปลักษณ์ภายนอกที่ใครๆ เคยชม อย่างผมสวย เมื่อให้คีโมแล้วผมร่วง”

บทเรียนที่ได้รับ ความร่วมมือของเครือข่าย มีรูปแบบการขับเคลื่อนในพื้นที่ มีบุคคลต้นแบบ ชุมชนต้นแบบ/มีต้นทุนชุมชนเดิมสูง บุคลากรมีมุ่งมั่นตั้งใจสูง อยู่นาน

ข้อจำกัด/ปัญหาและอุปสรรค มีโครงการซ้ำซ้อน เร่งด่วนและลักษณะคล้ายคลึงกันลงในระดับพื้นที่ทั้งจังหวัด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้องใช้ระยะเวลานาน ทำได้ค่อนข้างยาก

ข้อเสนอแนะ ควรมีการประชุมพูดคุยและกำหนดทิศทาง นโยบาย แผนงาน ควรมีการดำเนินงานร่วมกันตั้งแต่เริ่มต้น ทั้งภาคีเครือข่ายภายในและภายนอก เพื่อจะมีมุมมองและกำหนดทิศทางการทำงานไปพร้อมกัน และควรจะบูรณาการทั้งบุคลากร งบประมาณ และวิธีการ มีการกำหนดเป้าหมายการทำงานร่วมกันอย่างชัดเจน ควรชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ (บริหารส่วนกลาง ภูมิภาค ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล ชุมชน) ให้ครอบคลุมเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่สามารถดำเนินการได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น

สวัสดี