“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เอกสารประกอบการชี้แจง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต)
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
หลักในการทำงานของ ปลัดกระทรวง สาธารณสุข นายแพทย์ณรงค์ สห เมธาพัฒน์
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข” โดย นพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 11 ตุลาคม 2556 โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี

บทบาทกระทรวงสาธารณสุข MOPH Reform 1.กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์กลางของประเทศ บนข้อมูลและฐานความรู้ 2.การสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ และ การสื่อสารประชาสัมพันธ์ 3.การประเมินนโยบายและเทคโนโลยี ด้านสุขภาพ 4.การกำหนดมาตรฐานบริการต่างๆ 5.การพัฒนาระบบกลไกการเฝ้าระวัง โรคและภัยสุขภาพ 6.การพัฒนากลไกด้านกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือ พัฒนาและดูแลสุขภาพประชาชน HEALTH SERVICES HEALTH PROMOTION แพทย์ แผนไทย สบส. สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค DISEASE CONTROL CONSUMER PROTECTION

บทบาทกระทรวงสาธารณสุข MOPH Reform 7.การพัฒนางานสุขภาพโลก และความร่วมมือ ระหว่างประเทศ 8.การกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลของ ภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชน 9.การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลัง ด้านสุขภาพของประเทศ 10.การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียว มีคุณภาพ ใช้งานได้ 11.การกำหนดนโยบายและจัดการกำลังคน ด้านสุขภาพ 12.การพัฒนาเขตสุขภาพ HEALTH SERVICES HEALTH PROMOTION แพทย์ แผนไทย สบส. สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค DISEASE CONTROL CONSUMER PROTECTION

การเปลี่ยนแปลงการทำงานกระทรวงสาธารณสุข คณะกรรมการกำหนดและกำกับนโยบายสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานเลขาคกก.ฯ สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้าน สนับสนุนงานบริการสุขภาพ คณะกรรมการ เขตสุขภาพ(AHB) กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักงานสาธารณสุขเขต ส่วนภูมิภาค - สสจ./สสอ. - รพศ./รพท. รพช./รพสต. หน่วยงานในกำกับ : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ องค์การมหาชน : โรงพยาบาลบ้านแพ้ว สถาบันรับรองคุณภาพ สถานพยาบาล รัฐวิสาหกิจ : องค์การเภสัชกรรม

โครงสร้างแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กลุ่มตรวจสอบภายใน 3 CLUSTER กลุ่มภารกิจด้านยุทธศาสตร์ กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุน กลุ่มภารกิจด้านประสานบริการ สำนักตรวจและประเมินผล สำนักพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (กระทรวง/สป.) สำนักบริหารกลาง สำนักการพยาบาล IHPP , HITAP - กลุ่มบริหารทั่วไป - กลุ่มคลังและพัสดุ - กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักวิชาการ สำนักพัฒนานโยบายการคลังและเศรษฐกิจสุขภาพ (CFO กลาง) สำนักบริหารงานบุคคล สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมพัฒนากฎหมายเพื่อสุขภาพ สำนักการคลังเขตสุขภาพ (CFO ระดับเขต) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพ สบช./วนส./แก้วกัลยา/สบพช. สำนักการสาธารณสุขระหว่างประเทศ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฯ สำนักงานสาธารณสุขเขต 1-12 สำนักสารนิเทศ สำนักส่งเสริมและสนับสนุน อาหารปลอดภัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานที่ตั้งเป็นการภายใน สป. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ศูนย์ประสานการแก้ปัญหาข้อร้องเรียน - ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข - กลุ่มกระจายอำนาจ, อื่นๆ AREA HEALTH BOARD

โครงสร้างระบบสาธารณสุขในระดับเขต กระทรวงสาธารณสุข สนง.ประสานงานเขต สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพ คณะกรรมการประสานการพัฒนาสาธารณสุขระดับเขต คณะกรรมการนโยบายบริการสุขภาพระดับเขต สนง.เขตสุขภาพ 1-12 กรมต่าง ๆ กรมต่าง ๆ หน่วยงานวิชาการ รพศ./รพท./รพช./ รพสต. กรมต่าง ๆ หน่วยงานวิชาการ กรมต่าง ๆ หน่วยงานวิชาการ หน่วยงานวิชาการ รพ. สังกัดอื่น รพ. มหาวิทยาลัย รพ. เอกชน อปท.

โครงสร้างสำนักงานเขตสุขภาพ (Back up Office ของ AHB) สนง. ประสานงานเขต สตป/สป. สำนักงานเขตสุขภาพ 1-12+ กทม. งานบริหารทั่วไป งานพัฒนายุทธศาสตร์ งานพัฒนาระบบบริการ งานบริหารทรัพยากร งานแผนงาน งาน MIS/IT งาน M&E และ KPI งานพัฒนาและแก้ไข ปัญหาพื้นที่ Service Plan Referral System EMS & PHER งานคุณภาพมาตรฐานบริการ การเงินการคลัง การบริหารกำลังคน การลงทุน การบริหารงบประมาณ งานบริหารทั่วไป งานสนับสนุนเครือข่าย

บทบาทของ Provider และ Regulator ในเขตสุขภาพ * จัดระบบบริการสุขภาพ 4 มิติ ได้แก่ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู รวมทั้งงานคุ้มครองผู้บริโภค * บริหารจัดการให้เกิดผลลัพธ์ตามเป้าหมายของกระทรวง โดยมีแผนร่วม - แผนลงทุน - แผนเงินบำรุงและแผนการใช้งบประมาณ - แผนการจัดซื้อยาและวัสดุวิทยาศาสตร์ฯ - ติดตาม ควบคุม กำกับงานและพัฒนา ปรับปรุง (M/E, Supervisor)

บทบาทของ Provider และ Regulator ในเขตสุขภาพ * ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามเป้หมายของกสธ. - เขตบริการสุขภาพ - ท้องถิ่น - ภูมิภาค - เอกชน โดยติดตามดู ผลลัพธ์ (output/outcome) ที่เกิดกับปชช. - process ที่สำคัญ - การบริหารจัดการ ด้านการเงินการคลัง การพัสดุ - การบริหารบุคคล - ความโปร่งใส สุจริต

การขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 1. การจัดบริการร่วม * มีแผนการจัดบริการที่บูรณาการครอบคลุม 4 มิติ เพื่อ ตอบสนองเป้าหมายและตัวชี้วัดตามกลุ่มวัย * มีแผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการ 10 สาขาและ ยกระดับขีดความสามารถของสถานบริการในลักษณะ เครือข่ายเชื่อมโยงทุกระดับ (Service Plan) ทั้งในเขต และนอกเขต * ดำเนินการติดตามและบริหารผลการดำเนินงานตาม ระยะเวลา * ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานและการจัดบริการร่วม

การขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 2. การบริหารร่วม - บริหารแผน : มียุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงานเพื่อบรรลุ เป้าหมายตัวชี้วัดระดับเขต - บริหารทรัพยากรบุคคล : มีการวางแผนกำลังคน โดยวิเคราะห์ อัตรากำลัง ความต้องการรายหน่วยบริการ จัดสรรอัตรากำลัง พัฒนาศักยภาพและสมรรถนะบุคลากร การจ้างพนักงานกสธ. และการกำหนดค่าตอบแทน แรงจูงใจให้ปฏิบัติงาน อย่างเป็นธรรมและเหมาะสม

การขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต - บริหารงบประมาณ : บริหารงบ UC ได้แก่ ค่าใชัจ่ายรายหัว และงบ PP ทั้ง และงบ Non UC ในการปฏิบัติงานอย่างมี ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า ทั้งนี้ส่วนกลางกำหนดวงเงินให้ เขตบริหารเอง - บริหารงบลงทุน : วางแผนการลงทุนและแผนการใช้ทรัพยากร ร่วมกันในเขต - บริหารการจัดซื้อจัดจ้าง : มีแผนการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ให้เป็นไปตามเป้าหมายของกสธ. โดยเฉพาะยา และวัสดุ วิทยาศาสตร์ มีการดำเนินการร่วมกัน

การขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 3. พัฒนาโครงสร้างการดำเนินงานในรูปคณะกรรมการระดับเขต * จัดทำแนวทางการจัดตั้ง สนง.เขตสุขภาพ (องค์ประกอบด้านคน เช่น CIO CSO CFO และโครงสร้างงาน) * จัดตั้งคณะกก.พัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับเขต ( Service Provider Board ) * มอบนโยบายการบริหารแผนงานและข้อมูลระดับเขต - พัฒนาระบบบริการสุขภาพ/ - บริหารการเงินการคลัง - บริหารทรัพยากร ฯลฯ

ตัวชี้วัด คุณภาพบริการ เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557 ระดับเขตสุขภาพ ระดับกระทรวง ตัวชี้วัด ด้านบริหาร ตัวชี้วัด คุณภาพบริการ ตัวชี้วัดกลุ่มวัย

เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการ ข้อเสนอเพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการงบหลักประกันสุขภาพ เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ของหน่วยบริการปี ๒๕๕๗

หลักการสำคัญ สปสช.โอนการจัดสรรไปยังหน่วยบริการสุขภาพเช่นเดิมโดยวงเงินลงพื้นที่ทั้งหมดไม่มีการกันงบบริหารโดยกระทรวงสาธารณสุขแต่อย่างใด ข้อเสนอเน้นการปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการบริการที่มีคุณภาพภายใต้การปฏิรูปการบริหารจัดการเครือข่ายระดับเขตภายใต้ SERVICE PROVIDER BOARD ยังคงสอดคล้องโดยไม่ต้องแก้ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีการปรับปรุงแนวทางที่กระทรวงเสนอในตอนต้นจากผู้บริหารและตัวแทนระดับเขต และทุกระดับเพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาและความจำเป็นที่แท้จริงในพื้นที่ จนเป็นยุติเป็นประกาศฉบับวันที่ 3 ตุลาคม 2556

๑.งบบริการผู้ป่วยนอกทั่วไป ๒.งบบริการผู้ป่วยในทั่วไป ๓. งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ๔. การบริหารการปรับเกลี่ยและงบหมวดอื่น ๆ

๑.งบบริการผู้ป่วยนอกทั่วไป ๑.๑ จัดสัดส่วนงบบริการผู้ป่วยนอกทั่วไป ดังนี้ ๑) เหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ ร้อยละ ๘๐ ๒) ตามผลงานบริการ ร้อยละ ๕ ๓) ตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ร้อยละ ๕ ๔) การกันเงินเพื่อพัฒนาระบบส่งต่อ ร้อยละ ๑๐ ทั้งนี้ให้ปรับเกลี่ยระหว่างหมวดได้ตามดุลพินิจของเขตเครือข่ายบริการสุขภาพ ในกรณีการกันเงินเพื่อส่งต่อสามารถใช้ดุลพินิจกันเงินได้ทั้งระดับจังหวัด หรือระดับเขต

๑.งบบริการผู้ป่วยนอกทั่วไป(ต่อ) ๑.๒ ในกรณีจ่ายตามผลงานบริการให้เขตเครือข่ายบริการสุขภาพกำหนดเป้าหมาย เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ เพื่อพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยนอกให้เป็นรูปธรรมและสอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่ ๑.๓ ในกรณีจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ให้มุ่งเน้นพัฒนาบริการปฐมภูมิตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข โดยมีตัวชี้วัดทุกระดับตั้งแต่ระดับเขต จังหวัด และอำเภอในสัดส่วนที่เหมาะสม ๑.๔ ในกรณีการกันเงินเพื่อพัฒนาระบบส่งต่อ ให้เขตเครือข่ายบริการสุขภาพ กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และอัตราเรียกเก็บการส่งต่อ ตามความเหมาะสมของพื้นที่ในกรณีนอกจังหวัด อัตราตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน ๗๐๐ บาท และกรณีที่เป็นค่าใช้จ่ายสูง ให้กำหนดรายการและอัตราตามความเหมาะสมของแต่ละเขต

๒.งบบริการผู้ป่วยในทั่วไป ๒.๑ กันเงินไว้เพื่อจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ไม่เกิน ๒๐ บาท/ผู้มีสิทธิ ควรปรับดัชนีชี้วัดตามบริบทของเขตเครือข่ายบริการสุขภาพมากยิ่งขึ้น ๒.๒ ให้แยกค่าใช้จ่าย บริการผู้ป่วยในตามมาตรา ๗ สำหรับอุบัติเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤติออกจากงบเหมาจ่ายรายหัวเป็นหมวดต่างหาก เพื่อป้องกันความเสี่ยงการจ่ายเงินชดเชยให้หน่วยบริการสังกัดอื่นจนเงินของหน่วยบริการไม่เพียงพอ ๒.๓ ให้มีการต่อรองอัตราการเรียกเก็บที่เหมาะสมตามระบบ DRG กับหน่วยบริการ นอกสังกัดโดยกระทรวงสาธารณสุข กรณีหน่วยบริการในพื้นที่ให้ตกลงกันเองตามบริบท ๒.๔ ให้เขตเครือข่ายบริการสุขภาพมีส่วนร่วมในการบริหารควบคุมยอดงบผู้ป่วยในเพื่อลดการส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเครือข่าย โดยพัฒนาระบบบริการตาม Service plan

๒.งบบริการผู้ป่วยในทั่วไป(ต่อ) ๒.๕ การส่งต่อออกนอกเขต ให้พิจารณาตามความจำเป็น ในกรณีที่ เกินศักยภาพของโรงพยาบาลศูนย์ในเขตเครือข่ายบริการสุขภาพ ทั้งนี้ต้องผ่านความเห็นชอบจากโรงพยาบาลศูนย์หรือตามเงื่อนไขที่กำหนด และกำหนดรายการที่สามารถส่งข้ามขั้นตอนออกนอกเขตได้ ให้มีการ ตรวจสอบข้อมูลการเรียกเก็บค่าบริการ จากหน่วยบริการนอกสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ๒.๖ ให้จัดสรรงบบริการผู้ป่วยในทั่วไป เพื่อชดเชยให้ระบบบริการแบบ Ambulatory care ๒.๗ ให้เพิ่มเงินค่าบริการในอัตราพิเศษเพื่อสร้างแรงจูงใจ ในการพัฒนา ศักยภาพการให้บริการผู้ป่วยในของโรงพยาบาลชุมชนตามนโยบาย Service plan ของเขต

ผู้ป่วยนอก (OP) ผู้ป่วยใน (IP) ประกาศ สปสช. สธ. เสนอใหม่ บาท/คน % จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ 1,001.87 94.8 80 จ่ายตามผลงานบริการ 18.09 1.7 ไม่เกิน 5.0 จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ+ผลงานบริการปฐมภูมิ 37 3.5 3.5-5.0 กันเงินเพื่อพัฒนาระบบส่งต่อ ระดับจังหวัด/ เขต   ไม่เกิน 10 รวม 1,056.96 100.0 100 ปรับสัดส่วน เพื่อกันเงินไว้บริหารความเสี่ยงด้านสุขภาพ + ทางการเงิน พัฒนาระบบส่งต่อของหน่วยบริการ พัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิที่ รพสต. ผู้ป่วยใน (IP) แยกค่าใช้จ่าย ตามมาตรา ๗ กรณีอุบัติเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉิน ออกจากงบเหมาจ่ายรายหัว เขตเครือข่ายบริการสุขภาพ มีส่วนร่วมในการบริหารควบคุมงบผู้ป่วยใน ลดการส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเครือข่าย ส่งต่อตามความจำเป็น+ผ่านความเห็นชอบจาก รพศ. ต่อรองอัตราการเรียกเก็บ ที่เหมาะสมตามระบบ DRG กับหน่วยบริการนอก สธ. ตรวจสอบข้อมูลการเรียกเก็บ จากหน่วยบริการนอก สธ. พัฒนาระบบบริการแบบ Ambulatory care เพิ่มเงินค่าบริการอัตราพิเศษ เพื่อสร้างแรงจูงใจ+พัฒนาศักยภาพของ รพช.

๓. งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (ต่อ) ๓.๑ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่บริหารระดับประเทศ ( P&P National priority program and central procurement) ในกรณีการจัดซื้อร่วม เช่นวัคซีน สมุดสุขภาพ ให้ส่วนกลางทำหน้าที่กำหนดรูปแบบ คุณสมบัติ และต่อรองราคา หน่วยบริการ ทำหน้าที่จัดซื้อ

๓. งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (ต่อ) ๓.๒ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการระดับพื้นที่ (P&P Area health services) ให้มีการปรับสัดส่วนจากบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับ บริการพื้นฐานให้เพิ่มมากขึ้นอย่างเพียงพอต่อการจัดการปัญหาในพื้นที่ภายใต้ความ รับผิดชอบของหน่วยงานสาธารณสุข โดย ๑ ) ให้แยกกองทุนฯท้องถิ่นออกจากงบเหมาจ่ายรายหัวโดยจัดสรรงบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเต็มอัตรา ๖๖.๓๘ บาท เพื่อให้หน่วยบริการสาธารณสุขสามารถให้บริการภายใต้ความรับผิดชอบผลลัพธ์ทางสุขภาพอย่างเต็มที่ หรือ ๒) ให้จัดสัดส่วนงบส่งเสริมสุขภาพระดับพื้นที่เพิ่มมากขึ้น โดยปรับสัดส่วนจากบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐานมาไม่น้อยกว่าร้อยละ๕๐ ให้เหมาะสมต่อการดูแลสุขภาพเชิงพื้นที่

๓. งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (ต่อ) ๓.๓ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐาน ( P&P Basic services) คณะกรรมการส่วนกลางควรเป็นชุดเดียวกันระหว่าง สปสช. และกระทรวงสาธารณสุขทำหน้าที่ถ่ายทอดตัวชี้วัด ลงมาระดับเขต ที่ คณะทำงานส่งเสริมป้องกันในระดับเขต ภายใต้ Service provider board กับอปสข. มีองค์ประกอบร่วม M&E ชี้เป้า และติดตามผลดำเนินงาน โดย คณะกรรมการชุดเดียวกัน เขตเครือข่ายบริการสุขภาพ ทำหน้าที่ตรวจสอบ ผลการดำเนินงาน ส่วนตรวจสอบด้านการใช้งบประมาณ ให้ สปสช. ตรวจสอบ ตามMOU ที่ทำร่วมกัน ๓.๔ สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ให้บริหารจัดการโดยคณะทำงานระดับเขตเครือข่ายบริการสุขภาพ

๓. งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

๔. การบริหารการปรับเกลี่ยและงบหมวดอื่นๆ หักเงินเดือนระดับเขตจากเงินหมวด OP IP PP ให้มีการจัดสรรงบค่าใช้จ่ายขั้นต่ำหรือ Minimum Operating Cost (MOC) โดยให้ใช้วงเงิน MOC ของเขตที่ได้รับแยกส่วนจากค่าใช้จ่ายของรพสต.แล้วเพื่อให้เป็นกรอบวงเงินดำเนินการก่อน จัดสรรด้วยหลักเกณฑ์จัดสรรงบขาลงรายไตรมาส หากผลงานไม่ถึงให้เขตพิจารณา ประเมินกรณีมีปัญหาประสิทธิภาพให้จัดทำ LOI กรณีมีประสิทธิภาพให้จัดสรรงบชดเชยให้เหมาะสมโดยมีแผน ๕ แผน และแผนการเงินมาตรฐานกำกับ ในกรณีที่งบขั้นต่ำจากงบหลักประกันสุขภาพไม่เพียงพอในบางเขตให้พิจารณาแหล่งรายได้อื่นประกอบการปรับเกลี่ยในเขต

๔. การบริหารการปรับเกลี่ยและงบหมวดอื่นๆ(ต่อ) ๔.๒ งบค่าเสื่อม ให้บริหารงบค่าเสื่อมตามระเบียบราชการโดยมีการทำสัญญาก่อนจึงจะโอนเงิน โดยมีคณะกรรมการจังหวัดบริหารวงเงินของทุกโรงพยาบาล ภายใต้การมีแผนลงทุนทั้งระบบที่กำหนดร่วมในระดับจังหวัดก่อนแล้วจึงกำหนดประเภทงบ โดยงบไม่จำเป็นต้องอยู่ที่เขตหรือจังหวัด ๔.๓ ให้กระทรวงสาธารณสุขมีส่วนร่วมรับรู้ในยอดงบทุกประเภท ได้แก่งบตามมาตรา ๔๑ , AE/HC รวมถึงยอดเงินกองทุนเหลือในบัญชีเพื่อชดเชยสนับสนุนหน่วยบริการที่พึงได้รับตามผลงานบริการแต่ไม่เพียงพอ

ข้อสรุป การจัดสรรงบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าดังกล่าวให้สปสช.โอนการจัดสรรไปยังหน่วยบริการสุขภาพเช่นเดิมโดยไม่มีการโอนงบดังกล่าวผ่านให้กระทรวงสาธารณสุขแต่อย่างใด ข้อเสนอดังกล่าวได้ผ่านการกลั่นกรองของผู้บริหารและความเห็นของผู้แทนทุกระดับของหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขจากการระดมความเห็นการปรับปรุงการบริหารงบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประจำปี 2557 แล้ว สวัสดี