การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์
ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
ขาดการบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง บทบาทสาธารณสุขยังเป็นผู้เล่นหลัก คิดว่างาน สาธารณสุขเราต้องทำเอง ทำตามคำสั่ง ใครสั่ง ชอบเอาปัญหาไปให้ชาวบ้าน ชาวบ้านไม่ได้เป็นเจ้าของปัญหา บทบาทท้องถิ่นยังไม่ชัดเจน บทบาทภาคประชาชนยังเป็นผู้ตาม การจัดการความรู้สิ่งดีๆในชุมชนยังมีน้อย ระบบเฝ้าระวังยังเป็นของภาครัฐ ( สาธารณสุข ) ระบบติดตามและประเมินผลขาดความต่อเนื่อง ระบบข้อมูลบางเรื่องเชื่อถือไม่ได้ เทคโนโลยีไม่ เหมาะสม การใช้ทุนทางสังคมโดยเฉพาะทรัพยากรบุคคลยังมีน้อย
ชุมชนเป็นผู้เรียนรู้และจัดการสุขภาพของตนเอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้ลงทุนและสนับสนุน ภาคสาธารณสุขเป็นพี่เลี้ยงและที่ปรึกษาวิชาการ ภาคีเครือข่ายภาครัฐอื่น ๆ ทุกภาคส่วนเข้าร่วมใน กระบวนการพัฒนา มีการจัดการความรู้สิ่งดี ๆ และ นวตกรรมชุมชน เป็น กลไกการพัฒนา มีระบบเฝ้าระวังและติดตามประเมินที่ดี
เมืองสุขภาพดี วิถีไทย คือ เมืองที่มีการความร่วมมือจาก พลัง 3 ฝ่าย คือ วิชาการ ( ภาครัฐ ) การเมือง และ ประชาชน เมืองสุขภาพดี วิถีไทย คือ เมืองที่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นมีนโยบายสาธารณะเรื่องคุณภาพชีวิต เมืองสุขภาพดี วิถีไทย คือ เมืองที่ มีตัวชี้วัดสุขภาพ ประชาชน เป็นเป้าหมายร่วมกัน เมืองสุขภาพดี วิถีไทย คือ เมืองที่มีการบริหารจัดการคุณภาพ ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เมืองสุขภาพดี วิถีไทย คือ เมืองที่มีภาคีเครือข่ายสุขภาพมี ส่วนร่วมในกระบวนการเฝ้าระวัง และ วางแผนพัฒนา เมืองสุขภาพดี วิถีไทย คือ เมืองที่ประชาชนได้รับประโยชน์ หรือผลกระทบด้านสุขภาพที่พึงประสงค์ เมืองสุขภาพดี วิถีไทย คือ เมืองที่ประชาชนได้รับการ คุ้มครองความปลอดภัยจากปัจจัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
- องค์ ความรู้ - ทักษะ - เปิดใจ - เทคโนโลยี เหมาะกับ ชุมชน - การจัดการ ข้อมูล - เติมพลังใจ - เวที แลกเปลี่ยน เรียนรู้ - ได้ใจ ประชาชน - การพัฒนา ต่อยอด ยั่งยืน Input Output - สร้างระบบ - ปรับกระบวน ทัศน์ - Humanized care Process