สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(District Health System)
Advertisements

สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
สวัสดีครับ.
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กลุ่มที่ 11.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4

ประเด็นที่ 1 : สรุปกระบวนการ และข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ.สต.รอบที่ 1

1.กลไก / รูปแบบการนิเทศระดับเขตและจังหวัด ตั้งคณะทำงานอำนวยการระดับเขต ซึ่งประกอบ จนท.ผู้รับผิดชอบงาน PCU ระดับจังหวัด ขั้นตอนการดำเนินงานจะมีภาระกิจหลัก ๆ คือ การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาระบบ PCU ในระดับจังหวัด และการยกระดับการพัฒนาคุณภาพบริการ “สมุทรปราการ....การนิเทศรอบที่ 1 ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องการวางแผนการดำเนินงาน ส่วนรอบ 2 ดูเชิงกระบวนการและผลลัพท์ เป็นผลให้เปลี่ยนระดับการนิเทศเชิงผลลัพท์เป็นเชิงกระบวนการมากขึ้น”

2.พื้นที่มีการพัฒนา/ปรับเกณฑ์การประเมิน การดำเนินงาน รพ.สต. เพื่อให้เหมาะสมกับ การดำเนินงานในพื้นที่ (อิงตามเกณฑ์ 4 ประเด็นหลัก 22 ข้อย่อย) “สมุทรปราการ.....ระดับจังหวัดลงนิเทศ CUP และ ระดับจังหวัด นิเทศ รพ.สต 19 แห่ง เน้น 3เรื่อง ภาพลักษณ์ (เน้นปรับภูมิทัศน์ ให้เหมาะกับ 5 กลุ่มเป้าหมาย บุคลากร ) สาระ (เน้น fam med) รูปแบบการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วม”

“มีการกำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัดเขต 4 คณะให้แต่ละจังหวัด เป็นเจ้าภาพการดำเนินงานในแต่ละเรื่อง (จ. ละ 1 เรื่อง) สรุปก็คือ กำหนดแบ่ง Focal Point ในแต่ละเรื่อง (ข้อดี คือ อิสระจะอยู่ที่การทำงานลงไปที่ CUP) ” “ราชบุรี...เชิงรุก เชื่อมโยง ชุมชน (3 ช.) เน้นตาม 4 ประเด็นหลักของ รพ.สต.” “สระแก้ว...ดำเนินงานใช้หลัก 3 ก (กิจกรรม กองทุน กรรมการ) ”

3. เครื่องมือการดำเนินงาน มีเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการพัฒนากระบวนการดำเนินงาน รพ.สต. เช่น PCA , PMQA หรือเกณฑ์ 4 คณะ 22 ตัวชี้วัด ฯลฯ

3 กรณีของการมีผู้นิเทศลงมาสามารถกระตุ้น ให้ผู้บริหารระดับพื้นที่ Active มากขึ้น หรือผู้บริหาร CUP ให้การสนับสนุนงบประมาณ/ ตั้งทีมสหวิชาชีพ ฯลฯ (CUP active มากขึ้น)

5. การนิเทศทำให้เกิดการกระจายทรัพยากร เพิ่มมากขึ้น 6.การนิเทศทำให้เกิดปฏิสัมพันธ์ในแนวดิ่งมากขึ้น (ภายในและนอกองค์กร) 7.เกิดความชัดเจนในการทำงานมากขึ้น 8.เกิดการบูรณาการระดับจังหวัดมากขึ้น

ข้อเสนอในประเด็นที่ 1 : 1.วิธีการกระตุ้นให้ CUP สนับสนุนการดำเนินงาน แก่ รพ.สต. เช่น งบประมาณ / บุคลกร / เวชภัณฑ์ ฯลฯ/ปัญหาด้าน 2.อัตรากำลังด้านสุขภาพ ส่วนกลางไม่สนับสนุนบุคลากรหรือการรักษาบุคลากรในพื้นที่ ความมั่นคงในอาชีพ ฯลฯ (ส่วนกลางควรพิจารณาประเด็นนี้)

3.ประเด็นหลัก รพ.สต. (ที่ยังไม่ชัดเจน) ได้แก่ - สมรรถนะและบรรยากาศเอื้ออำนวย - มีระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ - ภาคีมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและสนับสนุน - ชุมชนเข้มแข็ง 4.การชี้แจงการนิเทศ / การประกาศนโยบายระดับเขต 5.การจัดตั้งคณะทำงาน หรือ มีกลุ่มงานโดยเฉพาะ

การจัดการงบประมาณให้ รพ.สต. ที่เป็นธรรม โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ ประเด็นที่ 2 : การจัดการงบประมาณให้ รพ.สต. ที่เป็นธรรม โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ

1.CUP มีการจัดสนับสนุนบุคลากรแก่ รพ.สต. ใน 2 ลักษณะ จัดสรรงบประมาณ จัดสรรทรัพยากรระดับจังหวัด 2.ตั้งคกก. CUP เพื่อดำเนินงาน รพ.สต. 3.การจัดพยาบาลเวชปฏิบัติลงทำงาน รพ.สต. หรือ ตั้งทีมสหสาขาดำเนินงานในพื้นที่ 4.CUP มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อให้ รพ.สต ดำเนินงานเองในพื้นที่

ข้อเสนอในประเด็นที่ 2 : 1.การสนับสนุนงบประมาณของ CUP ให้ รพ.สต. มีเกณฑ์ไม่เหมือนกัน 2.CUP ควรเป็น Key man หลักในการดำเนินงาน แต่ควรมีกลไกกำกับการดำเนินงานด้านการสนับสนุนงบประมาณที่ชัดเจน 3.ควรมีการวางระบบ / กลไกการดำเนินงานที่เป็นเนื้อเดียวกัน 4.ควรกำหนดงบประมาณให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น

ประเด็นที่ 3 : การส่งเสริมการทำงาน ร่วมกับ อปท.

1.มีการตั้งคณะกรรมการ /ที่ปรึกษาเพิ่มเติม เช่น ผู้อำนวยการ โรงเรียน, สสอ. , ผอ.โรงเรียน ฯลฯ 2.สปสช.ควรมีกลไกการติดตามการใช้งบประมาณกองทุนฯ ที่ชัดเจน 3.มีรูปแบบการทำงานอย่างเป็นภาคีเครือข่าย มีการดึงองค์กร/ ภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วม

4.มีความสุข หากทำงานเป็นภาคีเครือข่าย แต่ไม่ใช่ ผู้ใต้บังคับบัญชา เพราะจะได้ถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน 5.เงื่อนไขด้านการเมือง (นายกหมดวาระ 4 ปี) สร้างความ ไม่มั่นคงให้กับการสนับสนุนบุคลากรด้านสุขภาพ 6.มีกลไกระดับจังหวัด / ระดับอำเภอ ในการกำกับ ติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานพื้นที่ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม ในชุมชน เช่น คปสอ. 7.ท้องถิ่นต้องมีวิสัยทัศน์ “ชุมชนเข้มแข็ง”