แนวทาง/เครื่องมือในการคาดการณ์ความต้องการและอุปทานกำลังคน นำเสนอในการประชุมคณะกรรมการศึกษาทบทวนประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกำลังคนด้านการแพทย์และสาธารณสุข ครั้งที่ 2/2551 วันที่ 18 ธันวาคม 2551
การคาดประมาณความต้องการกำลังคน (Manpower Demand projection) Population Ratio Method การเปลี่ยนแปลงทางประชากร ขนาดประชากรในปัจจุบัน ขนาดประชากรในอนาคต การคาดการณ์ -เปรียบเทียบกับอดีต /ประเทศอื่น -ความเห็นผู้เชี่ยวชาญ อัตราส่วนกำลังคน:ประชากร ในปัจจุบัน อัตราส่วนกำลังคน:ประชากร ในอนาคต
Health Need Method ประเภท คุณภาพ ความถี่ และ ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ประเภท คุณภาพ ความถี่ และ ปริมาณของบริการที่จำเป็นเพื่อ บรรลุเป้าหมายด้านสุขภาพของประชาชน ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ (ข้อมูลทางระบาดวิทยา) ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ แต่ละวิชาชีพ -การเข้าถึงบริการ -นโยบายที่เกี่ยวข้อง เป้าหมายบริการสุขภาพ ผลิตภาพของกำลังคน กำลังคนในแต่ละสายงานและเวลา ที่ใช้ในการให้บริการของบุคลากร แต่ละประเภท จำนวนกำลังคน แต่ละประเภท ที่ต้องการ อัตราส่วน กำลังคน:ประชากร
Health Demand Method อัตราการใช้บริการสุขภาพ ในปัจจุบันและอดีต Forecasting technique ตัวแปรด้านประชากรในปัจจุบันและอดีต -ขนาด โครงสร้างอายุ และเพศ - รายได้ -การย้ายถิ่น - อาชีพ - ที่อยู่อาศัย การประกันสุขภาพ การศึกษา การเปลี่ยนแปลงด้านประชากร สังคมเศรษฐกิจ การเมือง นโยบาย Healthcare system design ผลิตภาพของกำลังคน จำนวน และทักษะของกำลังคนแต่ละประเภทที่ต้องการ อัตราการใช้บริการ สุขภาพในอนาคต อัตราส่วน กำลังคน:ประชากร
Services Target Method ผู้กำหนดนโยบาย แนวโน้มในอดีต ความจำเป็นด้านสุขภาพ ความต้องการด้านสุขภาพ นโยบายการพัฒนาระบบบริการ เป้าหมายในอนาคต - การบริการสุขภาพ - การพัฒนาสถานบริการ - การพัฒนาระบบบริการ ผู้เชี่ยวชาญ กรอบอัตรากำลัง ผลิตภาพของกำลังคน อัตราส่วน กำลังคน:ประชากร จำนวน ประเภท และทักษะ ของกำลังคนที่ต้องการ
แนวทางการคาดการณ์ความต้องการกำลังคน ประชากรและปัญหาสุขภาพ Community based 10 care 20 care 30 care Excellent center สร้างสุขภาพ-ซ่อมสุขภาพ เด็ก 1.จำเป็นต้องมีบริการอะไร บ้างในแต่ละระดับของบริการ หรือบริการทีต้องมีในอนาคต วัยรุ่น 2. Base line data และคาดว่าจะมีปริมาณการใช้บริการเท่าใด ใน แต่ละปี ผู้ใหญ่/วัยแรงงาน 3. มาตรฐานการให้บริการของบุคลากร (เวลาที่ต้องใช้ต่อ 1 unit of service) ผู้สูงอายุ 4. มาตรฐานผลิตภาพของกำลังคน(Productive hour per year) โรคเรื้อรัง.... 5. Skill mix ภายใน และระหว่างสาขาวิชาชีพควรเป็นอย่างไร ผู้พิการ สุขภาพจิต/จิตเวช เด็กพิเศษ HIV/AIDS โรคระบาด/โรคติดเชื้อ อุบัติเหตุ/อุบัติภัย แรงงานต่างด้าว Medical Tourism
Of other health care resources Manpower Demand & Supply Inflow New graduates Immigrants Re-entrants Derived demand of nurse services No.& Productivity Of nurses Policies on -Education -Pay -Work condition -Migration -Retirement Quantity & Quality of health care Patients Supply of Nurse services Outflow Leavers Emigrants Retirees Derived demand of other services No.& Productivity Of other health care resources
การคาดประมาณอุปทานกำลังคน (Manpower supply projection) การเพิ่มขึ้น - ลดลงของกำลังคนด้านสุขภาพ Stocks สูญเสีย เพิ่มขึ้นจาก เกษียณ ผู้จบการศึกษาใหม่ Active manpower supply in services เสียชีวิต กลับจากลาเรียน ลาศึกษาต่อ กลับเข้าทำงานใหม่ หลังจากออกไป ทำอาชีพอื่น/เกษียณ เปลี่ยนอาชีพ Inactive supply
แนวทางการศึกษาอุปทานกำลังคนแต่ละวิชาชีพ ตรวจสอบกำลังคนที่มีในปัจจุบัน(Total Supply) Active Supply Inactive Supply (ถ้ากระจายกลุ่มอายุได้จะดีมาก) คาดประมาณการสูญเสียรายปี ศึกษาจากข้อมูลการสูญเสียในอดีต และ Project แนวโน้มในอนาคต กรณีไม่มีข้อมูลเพียงพอใช้อัตราการสูญเสีย 2% ต่อปี
แนวทางการศึกษาอุปทานกำลังคนแต่ละวิชาชีพ คาดประมาณขนาดกำลังคนที่จะมีในอนาคต จากจำนวนการผลิตที่มีอยู่ หรือจากแผนการผลิต Pt = Pt-1+ Gain – Loss t = ปีที่คาดประมาณ( 2551 ,2552, 2553,…)