เอกสารประกอบการชี้แจง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
แนวทางดำเนินการการกระจายอัตรากำลัง
หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้บริการสาธารณสุข
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
การพัฒนาระบบ บริการและ งานส่งเสริมสุขภาพ เชิงรุก โดย นายแพทย์คำรณ ไชยศิริ ผู้ตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การระบุตำแหน่ง ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
แนวทางปฏิบัติการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานภาครัฐ
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เรื่องเพื่อพิจารณาจากคณะ กรรมการบริหารจัดการสมัชชา สุขภาพจังหวัด วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗.
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
พนักงานกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายและแนวคิด โรงพยาบาลคุณธรรม.
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบการชี้แจง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต)

หลักการในการจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้แต่ละเขตจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) และ มีระบบส่งต่อที่สามารถจัดการได้ภายในเขต เน้นการพึ่งตนเองของประชาชน ๒. ลักษณะการจัดบริการ : Satellite OPD และ Centralize IP เพื่อลดความแออัด โดยใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาจัดระดับ สถานบริการสาธารณสุขเป็นแนวทางในการจัดระบบบริการ

หลักการในการจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ๓. เนื่องจากบางเขตไม่มีโรงพยาบาลศูนย์ ต้องมีการเชื่อมโยงระหว่างเขต ซึ่งอาจเชื่อมโยงด้วยคณะกรรมการอำนวยการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ หรือปรึกษารองปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่รับผิดชอบแต่ละภาค แล้วเสนอคณะกรรมการฯ ทราบ ๔. ควรมีการ Sing MOU - ปลัดกระทรวง-ผู้ตรวจราชการ - ผู้ตรวจราชการ-นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด

กลไกการตัดสินใจ กลไกการตัดสินใจให้อยู่ที่เขต เช่น เขตควรมีจำนวนเตียงเท่าไร ความเป็นจริงมีอยู่เท่าไร ต้องการเท่าไรและจัดสรรให้โรงพยาบาลไหน สำหรับ Specialist Service เป็นเรื่อง On Top

กลไกการตัดสินใจ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ทำหน้าที่ - กำหนดหรือปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ ของหน่วยบริการ ซึ่งเกณฑ์ที่กำหนดจะมีความยืดหยุ่น เพื่อให้เขต/ จังหวัด นำไปปรับใช้ตามความเหมาะสมกับสภาพความเป็นจริง - พิจารณาให้ความเห็นชอบแผน (ซึ่งผ่านความเห็นชอบ คปสข. แล้ว) ว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือไม่ หากคณะกรรมการฯ ไม่เห็นชอบ เขตนำไปปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้คณะกรรมการฯ เห็นชอบ ก่อนนำไปใช้เป็นแผนแม่บทในการพัฒนาระบบบริการของเขต/จังหวัด และแนวทางการสนับสนุนทรัพยากรของส่วนกลาง

ระยะเวลา เขต : ส่งแผนมายัง สำนักบริหารการสาธารณสุข ภายใน ๔ สัปดาห์