บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
ใช้สติอย่างสร้างสรรค์ ชีวิตทุกวันจะปลอดภัย
ระบบสารสนเทศเพื่อการปกครอง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
การจัดการศึกษาในชุมชน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
โรคติดต่อ นำเสนอโดย คุณครูบุปผา ศิลปะ
สังคมต้นแบบเรียนรู้การป้องกัน และดูแลโรคกระดูกพรุน
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
Introduction to Epidemiology
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
วิชา สุขศึกษา เสนอ 1.นายวิชญะ สุขโหตุ 047.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน สาระสำคัญ                 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชนทำให้ทราบถึงสถานและระดับของปัญหาสุขภาพอนามัยของบุคคลในชุมชนโดนรวมว่าเกิดจากสาเหตุปัจจัยใด หรือมีพฤติกรรมเสี่ยงใดบ้างที่ควรหาแนวทางการป้องกันและแก้ไขให้อยู่ในสภาพที่ดี ไม่ก่อให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรค และเพื่อการมีสุขภาพที่ดีของชุมชนสมาชิกในชุมชนควรหลักเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพและร่วมกันสร้างเสริมสุขภาพให้เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง

ความหมายและความสำคัญของการประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน                การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน หมายถึง กระบวนการศึกษา วิจัยปัญหาทางด้านสุขภาพของประชากรในชุมชน เพื่อให้ได้ผลบ่งชี้ถึงสถานภาพทางสุขภาพอนามัยของชุมชนว่าอยู่ในระดับใด และปัญหาสาธารณสุขใดบ้างที่ต้องปรับปรุงแก้ไขโดยอาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูลจาชุมชนเป็นพื้นฐาน                พฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน หมายถึง พฤติกรรมทางสุขภาพใดๆ ของบุคคลในชุมชน เมื่อปฏิบัติแล้วก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ นำไปสู่ความเจ็บป่วยเป็นโรค และเป็นอันตรายต่อชีวิตของตนเอง ครอบครัว ตลอดจนบุคคลอื่นๆ ในชุมชนโดยรวม

การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชุน                การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงในชุมชนเป็นวิธีการที่จะนำไปสู่การกำหนดแผนการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการดูแลเรื่องสุขภาพอนามัยต่างๆ ของชุมชน เพื่อทำให้ชุมชนเป็นชุมชนที่มีสุขภาพดี

กลวิธีลดความเสี่ยงและการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง ชุมชน และสังคม การมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคและการเจ็บป่วยต่างๆ ในชุมชนและสังคมได้นั้น ทุกคนในชุมชนควรดูแลสุขภาพของตนเอง หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพและร่วมกันสร้างเสริมสุขภาพให้เกิดขึ้นในชุมชนและสังคม ซึ่งสามารถนำนโยบายยุทธศาสตร์สร้างสุขภาพ