นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
นายแพทย์สมยศ เจริญศักดิ์
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
เกิดได้ก็ดี คาดว่าต้องเกิด ต้องเกิด เกษตรปลอดสาร ประชาชนฉลาดซื้อ ฉลาดใช้ ฉลาดกิน มีศูนย์รับข้อร้องเรียน คาดว่าต้องเกิด ครัวเรือนปลูกผักกินเอง “
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
ความร่วมมือเครือข่ายภาคอีสาน กับคุณภาพนมโรงเรียนปี 2553
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด” นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด” กระทรวงสาธารณสุขในฐานะหน่วยงานหลักในการดูแลและส่งเสริมด้านสุขภาพ มีหน้าที่ดูแลความปลอดภัยของอาหาร โดยรัฐบาลได้กำหนดให้ปี พ.ศ. 2547 เป็น “ปีอาหารปลอดภัย” ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ให้ความสำคัญกำหนดเป็นนโยบายหลักของกระทรวงทุกปี ในปีงบประมาณ 2552 นี้ กระทรวงสาธารณสุขก็ได้กำหนดนโยบายที่จะผลักดันโครงการสำคัญด้านอาหารปลอดภัยให้เกิดการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรมต่อสุขภาพที่ดีของเด็ก และเยาวชน โดยให้มีการดำเนินงานแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างกรมที่เกี่ยวข้องภายใต้โครงการ “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”

1 อำเภอ 1 โรงเรียนอาหารปลอดภัยเด็กไทยฉลาด เป้าหมาย ปี 52 1 อำเภอ 1 โรงเรียนอาหารปลอดภัยเด็กไทยฉลาด

โครงการ “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด” เป้าหมาย: 1 อำเภอ 1 โรงเรียน นโยบายกระทรวงสธ. โครงการ “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด” เป้าหมาย: 1 อำเภอ 1 โรงเรียน อาหารปลอดภัย เคมี จุลินทรีย์ กายภาพ โภชนาการเหมาะสม เด็กไทยฉลาด ฉลาดรู้ ฉลาดเลือก ฉลาดบริโภค อย. กรมวิทย์ กรม การแพทย์ กรมพัฒนา แผนไทยฯ ควบคุมโรค กรมอนามัย การดำเนินงานโครงการ “ อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด” ได้นำแนวคิด 2 ยุทธศาสตร์สำคัญ คือ ยุทธศาสตร์ “ อาหารปลอดภัย” ซึ่งประกอบด้วย Food Safety และ Nutrition Safety และยุทธศาสตร์ “ เด็กไทยฉลาด” ซึ่งประกอบด้วย ฉลาดรู้ ฉลาดเลือก และฉลาดบริโภค โดย ทั้ง 2 ยุทธศาสตร์นั้นมีความสัมพันธ์ คือ “อาหารปลอดภัย” ทำให้เด็กไทยฉลาดมีสุขภาพดี “เด็กไทยฉลาด” รู้จักเลือก และบริโภคอาหารปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสม ขยายสู่ครอบครัวและชุมชน การป้องกันโรคไม่ติดต่อ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภัยตามวิถีไทย ฉลากโภชนาการ ตะกั่ว การใช้ชุดทดสอบ โครงการ “เด็กฉลาดเลือก บริโภคอาหารปลอดภัย”

ภาคีเครือข่ายความร่วมมือ โรงเรียน 1 อำเภอ 1 โรงเรียน สสจ. กระทรวง อปต. โรงเรียน 1 อำเภอ 1 โรงเรียน อปท. โรงเรียน 1 อำเภอ 1 โรงเรียน กระทรวง สนับสนุน ชุดความรู้และสื่อต้นแบบ สสจ.ทำหน้าที่รณรงค์ ประชาสัมพันธ์อบรม ให้โรงเรียนเป้าหมาย อำเภอพัฒนาและประเมินโรงเรียนให้ผ่านเกณฑ์ บทบาท 4

อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด เป้าหมายระยะยาว : เด็กไทยสุขภาพดี ปลอดแบคทีเรีย ปลอดสารพิษ ปลอดสารเคมี โภชนาการที่เหมาะสม ฉลาดรู้ ฉลาดเลือก ฉลาดบริโภค ส่วนกลาง (ประกอบด้วย 7 โครงการ) 1. โครงการรณรงค์ล้างมือในโรงเรียน 2. เด็กฉลาดเลือก บริโภคอาหารปลอดภัย โครงการถ่ายทอดภารกิจการตรวจวิเคราะห์ สู่ อปท. และโรงเรียน 4. รณรงค์สร้างกระแสการป้องกันโรคไม่ติดต่อ 5. อาหารปลอดภัยเด็กไทยฉลาดกับวิถีไทย 6. สภาความร่วมมือฯ อาหารปลอดภัยสู่โรงเรียน 7. เฝ้าระวังป้องกันภัยอาหารปนเปื้อนสารตะกั่ว แนวทางการดำเนินงานของจังหวัด 1. ให้ สสจ. (หรือ สสอ.) คัดเลือก โรงเรียน / 1 อำเภอ 2. สนับสนุนสื่อให้ทุกโรงเรียน 3. โรงเรียนจัดกิจกรรม และประเมินตนเอง 4. เจ้าหน้าที่ (สสอ. หรือ สสจ.) ประเมิน ตามเกณฑ์ 5. สรุปรายงานความสำเร็จ มอบประกาศให้โรงเรียนที่เข้าร่วม โครงการ สื่อสนับสนุนจังหวัด 1. คู่มือการดำเนินงาน 2. เกณฑ์การประเมิน 3. องค์ความรู้ และสื่อต่าง ๆ 4. การฝึกอบรม (ถ้ามี) โครงการรณรงค์ล้างมือในโรงเรียน ผู้รับผิดชอบหลัก กรมอนามัย โครงการเด็กฉลาดเลือกบริโภคอาหารปลอดภัย ผู้รับผิดชอบหลัก สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 3 โครงการถ่ายทอดภารกิจการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้รับผิดชอบหลัก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โครงการรณรงค์อาหารปลอดภัยเด็กไทยสุขภาพดี ผู้รับผิดชอบหลัก กรมควบคุมโรค โครงการอาหารปลอดภัยเด็กไทยฉลาดกับวิถีไทย ผู้รับผิดชอบหลัก กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 6 โครงการสภาความร่วมมือเครือข่ายความปลอดภัยและความมั่นคงด้านอาหาร ผู้รับผิดชอบหลัก ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร 7 โครงการเฝ้าระวังป้องกันภัยอาหารปนเปื้อนสารตะกั่ว ผู้รับผิดชอบหลัก กรมการแพทย์ เป้าหมายปี 2552 : 1 อำเภอ 1 โรงเรียน “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด” เป้าหมายระยะปานกลาง : ลดการเจ็บป่วย เพิ่มพัฒนาการทางร่างกายและสมองดีขึ้น(Physical Health, Mental Health&IQ) เป้าหมายระยะยาว : เด็กไทยสุขภาพดี

(รวมโรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายของจังหวัดตรัง 10 แห่ง) เป้าหมายปีที่ 1 (พ.ศ. 2552) โรงเรียนประถมศึกษา และมัธยมศึกษาในจังหวัดตรัง อำเภอละ 1 โรงเรียน (รวมโรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายของจังหวัดตรัง 10 แห่ง)

ตัวชี้วัดความสำเร็จภาพรวมโครงการ ปี 2552 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1.1 ทุกอำเภอ มีโรงเรียนอาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด อย่างน้อย 1 แห่ง

2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 2.1 เกณฑ์ด้านกายภาพ - จุดน้ำดื่มบริการในโรงอาหาร ต้องผ่านเกณฑ์ตรวจสอบทาง แบคทีเรีย - จัดให้มีอ่างล้างมือที่สะอาด พร้อมสบู่ สำหรับนักเรียนใช้ได้ โดยสะดวก ณ บริเวณโรงอาหาร - มีห้องสุขา ที่สะอาด เพียงพอ

2.2 เกณฑ์ด้านความรู้ และพฤติกรรม 2.2 เกณฑ์ด้านความรู้ และพฤติกรรม นักเรียนมีความรู้เรื่อง การล้างมือที่ถูกต้อง และสามารถปฏิบัติได้ถูกวิธี นักเรียนกลุ่ม อย.น้อย มีความรู้ และสามารถใช้ชุดทดสอบเบื้องต้นได้ นักเรียนมีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารตะกั่ว และการหลีกเลี่ยงการปนเปื้อน

2.2 เกณฑ์ด้านความรู้ และพฤติกรรม (ต่อ) 2.2 เกณฑ์ด้านความรู้ และพฤติกรรม (ต่อ) นักเรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเอง จากโรคไม่ติดต่อ นักเรียนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย

2.3 เกณฑ์ด้านอาหารปลอดภัย 2.3 เกณฑ์ด้านอาหารปลอดภัย - ก๋วยเตี๋ยวปลอดภัย - อาหารปลอดภัยจากแบคทีเรีย สารปนเปื้อน และสารพิษ

3. ตัวชี้วัดด้านสุขภาพของเด็กในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย 3. ตัวชี้วัดด้านสุขภาพของเด็กในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย อัตราการเจ็บป่วยของเด็กนักเรียน อันเนื่องมาจากอาหารเป็นพิษในโรงเรียนลดลง

ขั้นตอนการดำเนินงาน 1อำเภอ 1 โรงเรียน รายงานผล สสจ. สสอ. ผู้รับผิดชอบ รพช. รายงานผล สสจ. ประเมินผล