เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
การใช้งานระบบสินค้าคงคลัง
กิจกรรมที่ 4 ข้อมูล จุดประสงค์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
การเขียนผังงาน.
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Surachai Wachirahatthapong
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
คอมพิวเตอร์เน็ตเวริ์คเบื้องต้น การจัดการระบบสารสนเทศ
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
Geographic Information System
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ฐานข้อมูล Data Base.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การจัดการฐานข้อมูล.
ข้อมูลและสารสนเทศ DATA AND INFORMATION ง41101 การงานพื้นฐานอาชีพ 1 ครูมาโนชญ์ แสงศิริ โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิจิตร.
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 รหัสวิชา ง 31101
หน่วยที่ 1 รู้จักกับฐานข้อมูล
 ในปัจจุบันการนำคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน ของประเทศ ต่างๆ ทั่วโลก อยู่ที่การใช้สารสนเทศเป็นส่วนใหญ่ แนวโน้มของระบบ จัดการข้อมูลของยุคนี้ เริ่มเปลี่ยน จากระบบ.
ง31102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
บทที่ 12 ฐานข้อมูล.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ข้อมูลและสารสนเทศ จัดทำโดย ด.ญ.จารุรัตน์ เสียงโต ม.1.2 เลขที่ 8 นำเสนอ คุณครู กวีวรรณ เดชปักษ์ โรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์ จังหวัดเชียงราย.
Data Structure and Algorithms
E-Portfolio.
สื่อการสอนวิชาคอมพิวเตอร์
รายวิชา การจัดการฐานข้อมูล
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล คำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ ปัจจุบันเราถือว่าข้อมูล.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน สาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 (งช 401) จัดทำโดย นายสถิตย์ จันทร์น้อย อาจารย์ 2 ระดับ 7 โรงเรียนท้ายหาด

ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล หมายถึง ข่าวสารหรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น เกี่ยวกับคนหรือสิ่งของ หรือเรียกว่า ฐานข้อมูล (Data Base) สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว นำมาใช้ในการตัดสินใจได้ คุณสมบัติของข้อมูลและสารสนเทศ 1. มีความถูกต้อง ตรวจสอบได้ มีความสมบูรณ์ 2. ทันสมัยต่อเหตุการณ์ และมีความเหมาะสม

การประผลข้อมูลไปสู่สารสนเทศ จะต้องดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1. รวบรวมข้อมูล 2. การประมวลผล แบ่งได้ 3 ประเภท 2.1 การประมวลผลด้วยมือ 2.2 การประมวลผลด้วยเครื่องจักร 2.3 การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ 3. การดูแลรักษา ชนิดของข้อมูล 1. ข้อมูลตัวเลข (Numeric) 2. ข้อมูลตัวอักษร (Character)

รหัสแทนข้อมูล รหัสมาตรฐานนิยมใช้กันมี 2 กลุ่ม คือ 1. รหัสแอสกี (ASCI) เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว 2. รหัสเอ็บซีติก (EBCDIC)

การแปลงฐานเลข 1. การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐาน 2 และฐาน 8 ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 47 ฐานสิบให้เป็นฐาน วิธีทำ 2)47 2)23 เศษ 1 2)11 เศษ 1 2)5 เศษ 1 2)2 เศษ 1 2)1 เศษ 1 คำตอบ (101111)2 = 47

2. การแปลงเลขฐานต่าง ๆ มาเป็นเลขฐานสิบ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน (147)8 ให้เป็นเลขฐาน 10 วิธีทำ (147)8 = (1*8๒) + (4*8๑) + (7*80) = 64 + 32 + 7 = 103

โครงสร้างของการจัดข้อมูล ประกอบด้วยส่วนต่างดังนี้ 1. อักขระ 2. เขตข้อมูล 3. ระเบียบข้อมูล 4. แฟ้มข้อมูล 5.ฐานข้อมูล

ตัวอย่างโครงสร้างแฟ้มข้อมูลลูกค้า

ประโยชน์ของการจัดการข้อมูล 1. สามารถค้นหาข้อมูล หรือสารสนเทศ ที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลและทำการปรับปรุงข้อมูล ให้ทันสมัยตลอดเวลา 2.สามารถประมวลผลชุดคำสั่งที่เก็บไว้ในแฟ้มได้ 3. สามารถสร้าง ตั้งชื่อและเก็บแฟ้มข้อมูล ไว้ใช้ประโยชน์ต่อไปได้ 4. สามารถสร้างสำเนา ย้ายและลบแฟ้มได้ 5. สามารถทำการย้ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูลใน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ 6. สามารถรับแฟ้มข้อมูลจากโปรแกรมอื่นได้

การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ 1. แฟ้มลำดับ 2. แฟ้มสุ่ม 3. แฟ้มดัชนี ประเภทแฟ้มข้อมูล 1. แฟ้มข้อมูลหลัก 2. แฟ้มรายการปรับปรุง

ลักษณะการประมวลผล แบ่งได้ 2 วิธี ดังนี้ คือ 1. การประมวลผลแบบกลุ่ม 2. การประมวลผลแบบทันที ระบบการจัดการฐานข้อมูล 1. การจัดการฐานข้อมูล 2. ระบบการจัดการฐานข้อมูล ลักษณะการจัดการสารสนเทศที่ดี 1. ลดความซ้ำซ้อน สามารถใช้สารสนเทศร่วมกันได้ 2. การเปลี่ยนแปลงแก้ไขทำได้สะดวกและถูกต้อง 3. ประหยัดค่าใช้จ่าย ปลอดภัยในการใช้ระบบ มีการควบคุม4. การใช้งานจากศูนย์กลาง