เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน สาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 (งช 401) จัดทำโดย นายสถิตย์ จันทร์น้อย อาจารย์ 2 ระดับ 7 โรงเรียนท้ายหาด
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล หมายถึง ข่าวสารหรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น เกี่ยวกับคนหรือสิ่งของ หรือเรียกว่า ฐานข้อมูล (Data Base) สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว นำมาใช้ในการตัดสินใจได้ คุณสมบัติของข้อมูลและสารสนเทศ 1. มีความถูกต้อง ตรวจสอบได้ มีความสมบูรณ์ 2. ทันสมัยต่อเหตุการณ์ และมีความเหมาะสม
การประผลข้อมูลไปสู่สารสนเทศ จะต้องดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1. รวบรวมข้อมูล 2. การประมวลผล แบ่งได้ 3 ประเภท 2.1 การประมวลผลด้วยมือ 2.2 การประมวลผลด้วยเครื่องจักร 2.3 การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ 3. การดูแลรักษา ชนิดของข้อมูล 1. ข้อมูลตัวเลข (Numeric) 2. ข้อมูลตัวอักษร (Character)
รหัสแทนข้อมูล รหัสมาตรฐานนิยมใช้กันมี 2 กลุ่ม คือ 1. รหัสแอสกี (ASCI) เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว 2. รหัสเอ็บซีติก (EBCDIC)
การแปลงฐานเลข 1. การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐาน 2 และฐาน 8 ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 47 ฐานสิบให้เป็นฐาน วิธีทำ 2)47 2)23 เศษ 1 2)11 เศษ 1 2)5 เศษ 1 2)2 เศษ 1 2)1 เศษ 1 คำตอบ (101111)2 = 47
2. การแปลงเลขฐานต่าง ๆ มาเป็นเลขฐานสิบ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน (147)8 ให้เป็นเลขฐาน 10 วิธีทำ (147)8 = (1*8๒) + (4*8๑) + (7*80) = 64 + 32 + 7 = 103
โครงสร้างของการจัดข้อมูล ประกอบด้วยส่วนต่างดังนี้ 1. อักขระ 2. เขตข้อมูล 3. ระเบียบข้อมูล 4. แฟ้มข้อมูล 5.ฐานข้อมูล
ตัวอย่างโครงสร้างแฟ้มข้อมูลลูกค้า
ประโยชน์ของการจัดการข้อมูล 1. สามารถค้นหาข้อมูล หรือสารสนเทศ ที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลและทำการปรับปรุงข้อมูล ให้ทันสมัยตลอดเวลา 2.สามารถประมวลผลชุดคำสั่งที่เก็บไว้ในแฟ้มได้ 3. สามารถสร้าง ตั้งชื่อและเก็บแฟ้มข้อมูล ไว้ใช้ประโยชน์ต่อไปได้ 4. สามารถสร้างสำเนา ย้ายและลบแฟ้มได้ 5. สามารถทำการย้ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูลใน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ 6. สามารถรับแฟ้มข้อมูลจากโปรแกรมอื่นได้
การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ 1. แฟ้มลำดับ 2. แฟ้มสุ่ม 3. แฟ้มดัชนี ประเภทแฟ้มข้อมูล 1. แฟ้มข้อมูลหลัก 2. แฟ้มรายการปรับปรุง
ลักษณะการประมวลผล แบ่งได้ 2 วิธี ดังนี้ คือ 1. การประมวลผลแบบกลุ่ม 2. การประมวลผลแบบทันที ระบบการจัดการฐานข้อมูล 1. การจัดการฐานข้อมูล 2. ระบบการจัดการฐานข้อมูล ลักษณะการจัดการสารสนเทศที่ดี 1. ลดความซ้ำซ้อน สามารถใช้สารสนเทศร่วมกันได้ 2. การเปลี่ยนแปลงแก้ไขทำได้สะดวกและถูกต้อง 3. ประหยัดค่าใช้จ่าย ปลอดภัยในการใช้ระบบ มีการควบคุม4. การใช้งานจากศูนย์กลาง