รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ณ ห้องประชุมจิตติ ติงศภัทย์ คณะนิติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Advertisements

นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
การจัดการความรู้ในสำนักงานประกันสังคม
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
วิธีการทางสุขศึกษา.
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ข้อดี และประสบการณ์ที่ควร ปรับปรุงเพื่อนำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์จากการเข้าร่วมอบรม ให้สัมฤทธิ์ผลและสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน.
การจัดการศึกษาในชุมชน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ความหมายและกระบวนการ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ณ บางกอก กอล์ฟ สปา รีสอร์ท
Participation : Road to Success
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
จุดเด่น / จุดขาย ของร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช.....
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
ครั้งที่ ๒.
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
A.L.T.C. 12/1 เสฏฐนันท์ อังกูรภาสวิชญ์ L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
การทัศนศึกษา.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา” รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา” ณ บางกอก กอร์ฟ สปาร์ รีสอร์ท โดย น.ส.สุรีพร ยุพา องค์การคนพิการสากลประจำภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก

ความเป็นมา ตามที่องค์การคนพิการสากลประจำภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในการสนับสนุนโครงการ “อบรมผู้นำเยาวชนคนพิการรุ่นใหม่ใส่ใจสิ่งแวดล้อมเพื่อหลักประกันสุขภาพ ในปี ๒๕๕๐ และ ปี ๒๕๕๑ จำนวน ๒ รุ่น ทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์กับตัวผู้นำเยาวชน ทั้ง ๒ รุ่น ให้สร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับตัวบุคคล ชุมชน เกิดเครือข่ายในการพัฒนางานคนพิการ ขึ้นในระดับชุมชนและระดับภาค โดยเป็นกลไลในการขับเคลื่อนงานด้านสุขภาพ สิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงระบบหลักประกันสุขภาพ เข้าถึงระบบบริการสาธารณะ สิ่งอำนวยความสะดวก การสร้างเจตคติให้คนในสังคมเข้าใจเรื่องคนพิการ การกระตุ้นชุมชนให้เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมของคนพิการและองค์กรคนพิการ ที่สามารถเปลี่ยนภาระมาเป็นพลัง สามารถกำหนดแนวทางการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้เกิดกลไกในการเรียนรู้ การขับเคลื่อนงานคนพิการในสังคม โดยผ่านกระบวนการถอดบทเรียนการทำงาน ๒. เพื่อให้ผู้นำเยาวชนคนพิการฯ นำแนวคิดการดำรงชีวิตอิสระคนพิการไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคนพิการให้ออกมาสู่สังคม ๓. เพื่อเกิดกระบวนการการพัฒนางานคนพิการอย่างมีส่วนร่วมในชุมชน และเป็นกลไกในการสร้างจิตสำนึกของชุมชน ๔. เพื่อให้เกิดการศึกษาต้นแบบในการสร้างผู้นำเยาวชนคนพิการ

กลุ่มเป้าหมาย ๑. ผู้นำเยาวชนคนพิการรุ่นที่ ๑ จำนวน ๑๐ คน ๒. ผู้นำเยาวชนคนพิการรุ่นที่ ๒ จำนวน ๑๐ คน

ผลที่ได้รับ ๑. ทำให้เยาวชนคนพิการทั้งรุ่น ๑ และรุ่น ๒ ได้พบปะและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทำงาน และความแตกต่างของชุมชนเมืองและชนบท ๒. ผู้นำเยาวชนคนพิการมีความรู้เรื่องการดำรงชีวิตอิสระสำหรับคนพิการ และสามารถนำเอาแนวคิดดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในชุมชนของตนเองได้ ๓. ทำให้ผู้นำเยาวชนคนพิการมีทักษะในการทำงานร่วมกับชุมชน และนำเอาทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ในการพัฒนางานด้านคนพิการ ๔. ผู้นำเยาวชนคนพิการในชุมชนสามารถ นำเอาศักยภาพของคนพิการในชุมชนให้เกิดการดำรงชีวิตอิสระของคนพิการแบบมีส่วนร่วมในชุมชน ๕. เกิดเป็นกรณีศึกษานำร่อง ต้นแบบการสร้างผู้นำเยาวชนคนพิการฯ ที่นำไปสู่การพัฒนาที่เกิดผลลัพท์ทางสังคม ตัวคนพิการ และชุมชน

ความแตกต่าง กลุ่มผู้นำเยาวชนคนพิการรุ่นที่ ๑ ๑. เป็นชุมชนเมือง อยู่ใกล้แหล่งทรัพยากรและข้อมูลข่าวสาร ๒. การติดต่อสื่อสารทำได้หลายช่องทาง ๓. ระบบคมนาคมมีทางเลือก ๔. มีสิ่งอำนวยความสะดวกแต่ไม่สามารถใช้ได้จริง ๕. คนพิการส่วนใหญ่รู้สิทธิของคนพิการ กลุ่มผู้นำเยาวชนคนพิการรุ่นที่ ๒ ๑. เป็นชุมชนชนบท อยู่ห่างไกลแหล่งทรัพยากรและข้อมูลข่าวสาร ๒. เข้าถึงครอบครัวคนพิการ ๓. มีความสัมพันธ์กับคนในชุมชน ๔. สิ่งอำนวยความสะดวกไม่เพียงพอ ๕. ขาดโอกาสทางการศึกษา

ผู้นำเยาวชนคนพิการรุ่น ๑ และรุ่น ๒ ทำกิจกรรมร่วมกันในการแสดงความคิดเห็นและวางแผนการทำงานร่วมกัน

กิจกรรมการวางแผนและพัฒนาชุมชน โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน โดยวิทยากรนำเสนอแนวทาง ในการหาแหล่งทรัพยากร ด้วยวิธีต่างๆ

กลุ่มเยาวชนช่วยกันวางแผน ค้นหาจุดแข็ง จุดอ่อน ในชุมชนของตนและนำเสนอเป็นกลุ่ม

กิจกรรมการสร้างเครือข่ายโดยใช้เส้นด้ายในการประสานระหว่างเยาวชนกลุ่ม ๑ และกลุ่ม ๒ กิจกรรมประทับมือเพื่อเป็นการแสดงถึงคำมั่นสัญญาของทุกคน