วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ รายงานผลการประเมินการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการบริหารความเสี่ยง เอกลักษณ์วิทยาลัย : เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ อัตลักษณ์นักศึกษา : แบ่งปันอย่างเอื้ออาทร
โครงสร้างผู้บริหารสถานศึกษา
โครงสร้างระบบการประกันคุณภาพ นายอนันท์ งามสะอาด ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการทุกฝ่าย นายพลสิทธิ์ เชื้อเหรียญทอง หัวหน้างานประกันคุณภาพฯ นายวิสิทธิ์ตพงศ์ แสงงาม ประธานกรรมการ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ นางสาวน้ำทิพย์ เผือกรอด คณะทำงาน นายธีระวัตน์ สงค์แก้ว คณะทำงาน นางสาวสายม่าน ภู่หลำ คณะทำงาน
คำอธิบาย บริหารความเสี่ยง สถานศึกษาระบุความเสี่ยงเพื่อให้สามารถวางแผนบริหารจัดการความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่ความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนขององค์กรได้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการบริหารความเสี่ยง นิยาม ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสหรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่อาจจะทำให้สถานศึกษาไม่บรรลุวัตถุประสงค์หรือเหตุการณ์ที่ไม่มีความแน่นอน ซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบเชิงลบต่อวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของสถานศึกษาโดยกำหนดความเสี่ยงที่สำคัญบังคับไว้ ๕ ด้าน ดังนี้ ๑. ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของผู้เรียน ครู และบุคลากรทางสถานศึกษา ๒. ความเสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาท ๓. ความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติด ๔. ความเสี่ยงด้านสังคม เช่น การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ๕. ความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุม
แผนผังการบริหารความเสี่ยงของนักเรียนนักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ นักเรียน นักศึกษา นักเรียน นักศึกษา นักศึกษาที่มีพฤติกรรมเสี่ยง นักศึกษาที่มีพฤติกรรมเสี่ยง การคัดกรอง นักศึกษากลุ่มเสี่ยง การคัดกรอง นักศึกษากลุ่มเสี่ยง นักศึกษากลุ่มปกติ เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยน ระบบสมัครใจบำบัด นักศึกษากลุ่มปกติ เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยน ระบบสมัครใจบำบัด การเรียนการสอน ตามหลักสูตร การเรียนการสอน ตามหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการอาชีวศึกษาเชิงบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผลิตและพัฒนากำลัง คนให้มีสรรถนะวิชาชีพก้าวสู่ประชาคมอาเซียนคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการอาชีวศึกษาเชิงบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผลิตและพัฒนากำลัง คนให้มีสรรถนะวิชาชีพก้าวสู่ประชาคมอาเซียนคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา
ปฏิทินการดำเนินงาน ลำดับที่ รายละเอียด ระยะเวลา 1. ศึกษาเอกสารรายละเอียดตัวบ่งชี้ ตุลาคม 2555 2. ประชุมคณะทำงาน 3. รวบรวมเอกสาร โครงการ/กิจกรรม ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555 4. สรุปรายละเอียด/หาเอกสารหลักฐาน ธันวาคม 2555 5. นำส่งสรุปรายงานให้หัวหน้างานประกันคุณภาพ
ผลการดำเนินงานพบว่า ประเด็นการพิจารณา ปีการศึกษา 2552 ปีการศึกษา 2553 ปีการศึกษา 2554 ๑. ด้านความปลอดภัยในสถานศึกษา ๑ ๒.ด้านการทะเลาะวาท ๓.ด้านสิ่งเสพติด ๔.ด้านสังคม ๕.ด้านการพนันและการมั่วสุม รวม ๕
ผลการดำเนินงาน สรุปพบว่า มีการพัฒนาต่อเนื่องในระดับดีมาก มีค่าผลคะแนนเท่ากับ 5
รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ประเด็นการพิจารณา มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๑. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียน-นักศึกษาจากทุกส่วนงาน มีส่วนร่วมในการค้นหาและระบุความเสี่ยงด้านความปลอดภัยภายในสถานศึกษา มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ รวมทั้งมีมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกหน่วยงาน มีการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และมีการแก้ไขปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยสามารถควบคุมความเสี่ยงให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง มีการสร้างความร่วมมือในการค้นหา/วิเคราะห์ความเสี่ยงและกำหนดประเด็นความเสี่ยงด้านความปลอดภัยภายในสถานศึกษาโดยมีประเด็นความเสี่ยงเรียงตามลำดับความสำคัญที่จะต้องป้องกันและแก้ปัญหา ดังนี้ ๑. ความปลอดภัยในทรัพย์สิน / ความปลอดภัยในโรงฝึกงาน ๒. ความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์ และเครื่องมือต่างๆ ๓. การเดินขึ้นลงบันได ๔. ทำป้ายนิเทศ / ป้ายเตือน / ข้อควรระวัง
รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ประเด็นการพิจารณา มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๑ .(ต่อ) -วางแผนและกำหนดมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกส่วนงาน ได้ป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องดังนี้ ๑. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการด้านความปลอดภัยสถานศึกษาให้จัดดำเนินงานและปฏิบัติงานตามจุดประสงค์ของโครงการ ๒. ชี้แจงวิธีการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ต่างๆ ให้เข้าใจและปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด ๓. มีเครื่องหมายกำหนดทางขึ้นลงบันได ๔. จัดทำป้ายนิเทศ / ป้ายเตือน / ข้อควรระวัง
รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ประเด็นการพิจารณา มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๒. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียน-นักศึกษาจากทุกส่วนงาน มีส่วนร่วมในการค้นหาและระบุความเสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาท มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ รวมทั้งมีมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกหน่วยงาน มีการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และ มีการแก้ไขปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยสามารถควบคุมความเสี่ยงให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง -มีการสร้างความร่วมมือในการค้นหา/วิเคราะห์ความเสี่ยงและ กำหนดประเด็นความเสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาท โดยมีประเด็นความ เสี่ยงเรียงตามลำดับความสำคัญที่จะต้องป้องกัน และแก้ปัญหา ๑. การทะเลาะชกต่อยตบตี -มีมาตรการให้ครูและบุคลากรทุกหน่วยงานป้องกันและควบคุมความ เสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาทด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง โดยได้วางแผนและกำหนดให้มีการปฏิบัติงาน ดังนี้ ๑. จัดทำโครงการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมความ เสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาทโดยมีโครงการต่างๆ เช่น วันไหว้ครู ประชุมผู้ปกครองและปฐมนิเทศนักเรียนนักศึกษา อบรมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน นักศึกษาใหม่ หารายได้ระหว่างเรียน การจำหน่ายกิจกรรมกีฬาสีและนันทนาการ นักเรียนพบครูที่ปรึกษา การแข่งขันทักษะวิชาชีพระดับสถานศึกษา เป็นต้น ๒. วางแผนและกำหนดมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกส่วนงานได้ป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง - รายงานผลการดำเนินโครงการ
รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ประเด็นการพิจารณา มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๓. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียน-นักศึกษาจากทุก ส่วนงาน มีส่วนร่วมในการค้นหาและระบุความเสี่ยงด้านสิ่ง เสพติด มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการ สร้างสรรค์ รวมทั้งมีมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุก หน่วยงาน มีการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเอง อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และ มีการแก้ไขปรับปรุงเพื่อ ลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยสามารถควบคุมความเสี่ยงให้ ลดลงอย่างต่อเนื่อง -มีการสร้างความร่วมมือในการค้นหา/วิเคราะห์ความเสี่ยงและกำหนดประเด็นความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติด โดยมีประเด็นความเสี่ยง ที่จะต้องป้องกัน และแก้ปัญหา ดังนี้ ๑. ยาเสพติด ๒. การสูบบุหรี่ ๓. ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ -มีมาตรการให้ครูและบุคลากรทุกหน่วยงานป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติดด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องโดยได้วางแผนและกำหนดให้มีการปฏิบัติงาน ดังนี้ ๑.จัดทำโครงการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติดโดยมีโครงการต่างๆ เช่น การประชุมผู้ปกครองและปฐมนิเทศนักเรียน นักศึกษา โครงการประชุมผู้ปกครองนักเรียนตามนโยบายฯ ตรวจสุขภาพและตรวจสอบสารเสพติดนักเรียน นักศึกษา
รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ประเด็นการพิจารณา (กิจกรรมที่ ๒) มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๔. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียน-นักศึกษาจากทุกส่วนงาน มีส่วนร่วมในการค้นหาและระบุความเสี่ยงด้านสังคม (เช่น การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร) มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ รวมทั้งมีมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกหน่วยงาน มีการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และ มีการแก้ไขปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยสามารถควบคุมความเสี่ยงให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง -มีการสร้างความร่วมมือในการค้นหา/วิเคราะห์ความเสี่ยงและ กำหนดประเด็นความเสี่ยงด้านสังคม โดยมีประเด็นความเสี่ยง เรียงตามลำดับความสำคัญที่จะต้องป้องกัน และแก้ปัญหา ดังนี้ ๑. หลีกหนีการเข้าแถว ๒. ความสัมพันธ์ชู้สาว ๓. ไม่เคารพครู / ผู้อาวุโส ๔. ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ๕. การทำแท้ง -มีมาตรการให้ครูและบุคลากรทุกหน่วยงานป้องกันและควบคุมความ เสี่ยงด้านสังคมด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องโดยได้วางแผนและกำหนดให้มีการปฏิบัติงาน ดังนี้ ๑. จัดทำโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้านสังคมโดยมีโครงการต่างๆ การประชุมผู้ปกครองและปฐมนิเทศนักเรียน นักศึกษา โครงการประชุมผู้ปกครองนักเรียนตามนโยบายฯ ตรวจสุขภาพและตรวจสอบสารเสพนักเรียน นักศึกษาและบุคลากร กีฬาและนันทนาการ วันไหว้ครู การสอนวิชาเพศศึกษา การพบครูที่ปรึกษา เป็นต้น
รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ประเด็นการพิจารณา (กิจกรรมที่ ๒) มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๕. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียน-นักศึกษาจากทุกส่วนงาน มีส่วนร่วมในการค้นหาและระบุความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุม มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ รวมทั้งมีมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกหน่วยงาน มีการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และ มีการแก้ไขปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยสามารถควบคุมความเสี่ยงให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง -มีการสร้างความร่วมมือในการค้นหา/วิเคราะห์ความเสี่ยงและ กำหนดประเด็นความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุม โดยมีประเด็น ความเสี่ยงเรียงตามลำดับความสำคัญที่จะต้องป้องกัน และแก้ปัญหา ดังนี้ ๑. การมั่วสุมในห้องพัก ๒. การเล่นการพนัน ๓. การมั่วสุมในสถานที่อื่น -มีมาตรการให้ครูและบุคลากรทุกหน่วยงานป้องกันและควบคุมความ เสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุมด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ และ ต่อเนื่องโดยได้วางแผนและกำหนดให้มีการปฏิบัติงาน ดังนี้ ๑. จัดทำโครงการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุมโดยมีโครงการต่างๆ เช่น โครงการประชุม ผู้ปกครอง เสริมสร้างประสบการณ์คุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไหว้ครู นักเรียนพบครูที่ปรึกษา กีฬาสีภายในและนันทนาการ การหารายได้ระหว่างเรียน เป็นต้น
คณะผู้จัดทำ ว่าที่ ร.ต.ธีระวัฒน์ สงค์แก้ว E-MAIL : TEL : 089-7502719 นางสาวน้ำทิพย์ เผือกรอด E-MAIL :Namthip_MooK@hotmail.com TEL : 085-0461336 นางสาวสายม่าน ภู่หลำ E-MAIL :saimansang@live.com TEL : 085-8170681