รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต พรายพล คุ้มทรัพย์
เอกสารอ้างอิง: “The Privatization Challenge: A Strategic, Legal, and Institutional Analysis of International Experience” by Pierre Guislain, The World Bank, 1997
เอกสารอ้างอิง: “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ” ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2542 “สาระน่ารู้: การปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ” สำนักรัฐวิสาหกิจและหลักทรัพย์ของรัฐ กระทรวงการคลัง และ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2543
เอกสารอ้างอิง: “สัมปทานในกิจการสาธารณูปโภค” พรายพล คุ้มทรัพย์ และ สมัย โกรธินทาคม 2544 “State Enterprises and Privatization in Thailand: Problems, Progress and Prospects” by Praipol Koomsup 2003
เค้าโครงการบรรยาย 2 ส่วน : ความเป็นมา ปัญหา และความพยายามปรับปรุงรัฐวิสาหกิจไทย การปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ
บทบาทของภาครัฐในด้านเศรษฐกิจ นโยบายและแผน บริหารและกำกับดูแล ผลิตสินค้าและบริการ
บทบาทของภาครัฐในด้านเศรษฐกิจ หน่วยราชการ: นโยบายและบริหาร บริการ/สินค้าสาธารณะ (ใช้เงินภาษี) รัฐวิสาหกิจ: ผลิตสินค้าและบริการ (คิดค่าสินค้าและบริการโดยตรง)
โดยปกติภาคเอกชนผลิตสินค้าและบริการได้ ทำไมจึงต้องมีรัฐวิสาหกิจ? โดยปกติภาคเอกชนผลิตสินค้าและบริการได้ ทำไมจึงต้องมีรัฐวิสาหกิจ? รัฐวิสาหกิจลงทุนและผลิต ในกรณีที่สินค้าและบริการมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจและสังคม โดย ไม่ควรให้เอกชนทำ (เพื่อ “ความมั่นคง”) ผูกขาดธรรมชาติ (natural monopoly) และจำเป็นต่อการครองชีพ (สาธารณูปโภค)
โดยปกติภาคเอกชนผลิตสินค้าและบริการได้ ทำไมจึงต้องมีรัฐวิสาหกิจ? โดยปกติภาคเอกชนผลิตสินค้าและบริการได้ ทำไมจึงต้องมีรัฐวิสาหกิจ? รัฐวิสาหกิจลงทุนและผลิต ในกรณีที่สินค้าและบริการมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจและสังคม โดย ไม่คุ้มค่าเชิงพาณิชย์ ใช้เงินลงทุนสูง เป็นอบายมุข (ต้องควบคุม และเพื่อรายได้)
แบ่งรัฐวิสาหกิจไทยได้ 5 ประเภท สาธารณูปโภค (ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ขนส่ง) รายได้จากอบายมุข (บุหรี่ สลากกินแบ่ง สุรา) ส่งเสริมบางสาขา/สวัสดิการ (กีฬา สวนสัตว์ ท่องเที่ยว นิคมอุตสาหกรรม โคนม ยาง ยา วิจัย)
แบ่งรัฐวิสาหกิจไทยได้ 5 ประเภท สถาบันการเงิน (ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารพัฒนาเฉพาะด้าน: ออมสิน ธกส. ธอส. Exim SME) ความมั่นคงทางทหาร (หนัง ทอผ้า แก้ว อาหารสำเร็จ แบตเตอรี่ อู่เรือ)
ความสำคัญของรัฐวิสาหกิจไทย 60 แห่ง สินทรัพย์ 2 ล้านล้านบาท (40% ของ GDP) โดยไม่รวมสถาบันการเงิน รายจ่ายสูงกว่างบประมาณของรัฐบาล
ความสำคัญของรัฐวิสาหกิจไทย หนี้ =1/3 ของหนี้สาธารณะ ส่วนใหญ่มีกระทรวงการคลังค้ำประกัน พนักงาน 250,000 คน (1% ของกำลังแรงงาน) ส่งรายได้เป็น 6% ของรายได้รวมรัฐบาล
รัฐวิสาหกิจไหนเอ่ย?
ปัญหาของรัฐวิสาหกิจไทย บริการไม่น่าพอใจ กรณีตัวอย่าง: รถไฟ ขสมก. ท่าเรือ ประปา ภาระการเงินสำหรับภาครัฐ ไม่ขาดทุน แต่ต้องกู้ยืมเพื่อลงทุนทุกปี ภาระหนี้สำหรับภาครัฐ
สาเหตุของปัญหา 3 ประการ ข้อจำกัดทางการเงิน ข้อบกพร่องของระบบและองค์กร การผูกขาด (ขาดการแข่งขัน)
สาเหตุของปัญหา ข้อจำกัดทางการเงิน การปรับราคาและแรงกดดันทางการเมือง ความจำเป็นในการลงทุนและการกู้ยืม การขาดทุนและการปรับปรุงคุณภาพบริการ
สาเหตุของปัญหา ข้อบกพร่องทางระบบและองค์กร: กฎ ระเบียบ ไม่คล่องตัว ระบบเงินเดือน สวัสดิการ และแรงจูงใจในการทำงาน ความเหมาะสมของคณะกรรมการ/ผู้บริหาร
สาเหตุของปัญหา ข้อบกพร่องทางระบบและองค์กร: โครงสร้างการควบคุมและกำกับดูแล การแทรกแซงทางการเมือง
สาเหตุของปัญหา การผูกขาด ผูกขาดโดยธรรมชาติ หรือ โดยนโยบาย ผู้บริโภคมีทางเลือกน้อย --> คุณภาพบริการต่ำ การให้สัมปทานกับเอกชน แต่รัฐวิสาหกิจเป็นคู่แข่งที่ทำหน้าที่กำกับดูแลด้วย
การปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทย เริ่มตั้งแต่แผนพัฒนาที่ 1 แต่จริงจังในช่วงกว่า 10 ปีที่ผ่านมา ในทศวรรษ 1990 ให้สัมปทานเอกชนในสาขา ไฟฟ้า โทรคมนาคม ทางด่วน ท่าเรือ ประปา
การปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทย อำนาจการผูกขาดและการกำกับดูแลของรัฐวิสาหกิจ ยังเป็นอุปสรรคต่อการแข่งขัน การขยาย - ยุบรัฐวิสาหกิจบางแห่ง
การปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทย การปรับปรุง “ธรรมาภิบาล” ของรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจชั้นดี การสรรหา แต่งตั้ง และดำรงตำแหน่งของผู้บริหาร
การปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทย ความจำเป็นในการแปรรูปรัฐวิสาหกิจอย่างจริงจัง (เพิ่มบทบาทของเอกชน)