ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
Advertisements

ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ถุงเงิน ถุงทอง.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรที่พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
สำนักจัดการปฏิรูปที่ดิน
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 3rd ปัญหา อุปสรรค แนวโน้มของ อุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
Flag Ship 101,976,000 บาท 4 โครงการ เทียบเท่า ผลผลิตนอกเหนือจาก ผลผลิต ปวช./ ปวส./ ระยะ สั้น วิจัยองค์ความรู้ / วิจัยเพื่อ ถ่ายทอดเทคโนโลยี  Proj ความร่วมมือเพื่อ.
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
SWOT งานการเงินและบัญชี
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจเพื่อการศึกษา
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
เรื่อง ปรับแก้ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1/2554
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ 29-30พ.ค.49 ศสส. ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ ศสส. นำเสนอ สอศ. แจ้ง อศจ. 6 มิ.ย.49 อศจ. อศจ.ประกาศคำสั่ง มิ.ย.49 นิเทศ ศสส.

ProJ. จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ อศจ. และสถานศึกษา ดำเนินการดังนี้  พัฒนาองค์ความรู้และสร้างทักษะให้นักเรียน นักศึกษาในการเป็นผู้ประกอบการใหม่ไม่ต่ำกว่าสถานศึกษาละ 10 คน  จัดให้มีศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการใหม่ในระดับจังหวัด  บูรณาการสร้างผู้ประกอบการใหม่กับการเรียนการสอนและความต้องการของตลาดแรงงาน  ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มธุรกิจในสถานศึกษาอย่างน้อยสถานศึกษาละ1 ธุรกิจ

การบูรณาการ ProJ. จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ อศจ. และสถานศึกษา ดำเนินการดังนี้  พัฒนาองค์ความรู้และสร้างทักษะให้นักเรียน นักศึกษา ในการเป็นผู้ประกอบการใหม่ไม่ต่ำกว่าสถานศึกษาละ 10 คน  จัดให้มีศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการใหม่ในระดับจังหวัด  บูรณาการสร้างผู้ประกอบการใหม่กับการเรียนการสอน และความต้องการของตลาดแรงงาน  ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มธุรกิจในสถานศึกษาอย่างน้อย สถานศึกษาละ1 ธุรกิจ ProJ. จัดองค์ความรู้ในการสร้างผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิตต่อยอดสินค้าและบริการ อศจ. และสถานศึกษา ดำเนินการดังนี้  สำรวจ และจัดทำ Profile ผู้ประกอบการในแต่ละประเภท  ศึกษาความต้องการของผู้ประกอบการ และความพร้อมของ สถานศึกษาการเชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญภูมิปัญญาท้องถิ่นในแต่ละสาขา  จัดฝึกอบรมกลุ่มเป้าหมายและส่งเสริมการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาอาชีพอย่างต่อเนื่อง สถานศึกษาละไม่น้อยกว่า 12 คน หรือเฉลี่ยในภาพรวม อศจ.  สร้างเครือข่ายและจัดการความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ วิสาหกิจ ชุมชน ผู้ประกอบการ SME ศิษย์เก่า และนักศึกษาปีสุดท้าย เศรษฐกิจพอเพียง ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ เรียนเป็นเรื่อง เรียนเป็นชิ้นงาน เรียนเป็นโครงการ

30พ.ค.49 09.00 น. – 12.00 น. สรุปปิด 09.00 น.-10.30 น. แบ่งกลุ่ม อศจ. 1. โครงสร้างศูนย์บ่มเพาะ อศจ. 2. แผนปฏิบัติการศูนย์บ่มเพาะ ประชุมศูนย์บ่มเพาะ คัดเลือกผู้ประกอบการในอนาคต ประชุมกำหนดหลักสูตร ฯลฯ 3. แผนการอบรมผู้เข้ารับการบ่มเพาะ แผนธุรกิจ กฎหมายธุรกิจ 10.30 น. – 11.45 น. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปปิด  พัฒนาองค์ความรู้และสร้างทักษะให้นักเรียน นักศึกษา ในการเป็นผู้ประกอบการใหม่ไม่ต่ำกว่าสถานศึกษาละ 10 คน  จัดให้มีศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการใหม่ในระดับจังหวัด  บูรณาการสร้างผู้ประกอบการใหม่กับการเรียนการสอน และความต้องการของตลาดแรงงาน  ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มธุรกิจในสถานศึกษาอย่างน้อย สถานศึกษาละ1 ธุรกิจ

โครงสร้างศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ คณะทำงานตามยุทธศาสตร์ ไม่เน้นการสร้างที่ทำงาน เน้นภาระงานบ่มเพาะ

วิสัยทัศน์ ปรัชญาและวิสัยทัศน์ บ่มเพาะการเรียนรู้ สู่งาน เป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ วิสัยทัศน์ การเสริมสร้างบรรยากาศและความเป็นผู้ประกอบการ แก่นักศึกษา บุคลากรและศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

วัตถุประสงค์หลัก เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปตามแนวทางที่ทาง สอศ. ได้กำหนดไว้และสอดคล้องกับนโยบายของ อศจ..................... ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ ได้กำหนดวัตถุประสงค์หลักไว้ ดังนี้ ผลักดันและส่งเสริมผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมของ อศจ. โดยการแปลงเป็นผลิตภัณฑ์และสร้างมูลค่าสู่ภาควิสาหกิจ ให้คำปรึกษาและข้อมูลในการประกอบอาชีพอิสระ เป็นผู้ประกอบการ และจัดฝึกอบรมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในฐานะผู้ประกอบการ ประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่ออำนวยความสะดวกในการเป็นผู้ประกอบการ ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรม ธุรกิจใหม่และผู้ประกอบการรายใหม่ในภาคธุรกิจ

หน้าที่ของฝ่ายบ่มเพาะ ✽ บริการให้คำปรึกษา แนะนำ รวมถึงการประสานงานเพื่อขอ ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดทำธุรกิจประเภทต่างๆ ✽ ประสานงานกับภาคเอกชนเพื่อสร้างเครือข่ายทางธุรกิจ ✽ คัดเลือกและผลักดันนักศึกษาที่ผ่านการอบรม จากทาง สถาบันฯ ให้สามารถประกอบธุรกิจได้ตามแผนที่ได้วางไว้ ✽ ตรวจสอบแผนธุรกิจเบื้องต้น ✽ ความร่วมมือกับสถาบันทางการเงิน ✽ Seed Money (เงินทุนสนับสนุนสำหรับผู้ประกอบการใหม่) ✽ ติดตามผลการดำเนินงานธุรกิจ

ฝ่ายนวัตกรรม Innovation to Product Knowledge Creation Product Skill Management Experiance

แผนงานฝ่ายบริหารงานทั่วไป ✽ จัดการระบบงานทางด้านสารบรรณ เอกสารภายในหน่วยงาน ให้เป็นหมวดหมู่ ✽ จัดการทางด้านพัสดุ-ครุภัณฑ์ รวมทั้งจัดทำบัญชีวัสดุครุภัณฑ์สำนักงานของสถาบันฯ ควบคุมการเบิกจ่าย วัสดุและครุภัณฑ์ สำนักงานของสถาบันฯ ✽ จัดทำใบเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ และเอกสารเกี่ยวกับใบรับรองการหักเงิน ณ ที่จ่าย แบบแสดงรายการภาษีเงินได้ รวมทั้งเงินหักส่งสรรพากร ✽ รวบรวมระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของสถาบันฯ ✽ จัดการทางด้านการบริหารงานบุคคล การบันทึกประวัติการลา ของพนักงาน สถาบันฯ รวมทั้งจัดทำการเบิกจ่ายค่าจ้างเงินเดือนให้กับพนักงานในแต่ละเดือน ✽ จัดทำระบบบัญชีของสถาบันฯ การยืม-คืนเงินของสถาบันฯ