โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
ลำดับการนำเสนอเนื้อหา ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ปฏิทินการทำงานของที่ปรึกษา การขอความร่วมมือ
ความเป็นมา ปี 2549 โครงการราษฎร์รัฐร่วมใจบริหารจัดการลุ่มน้ำเนื่องในโอกาสงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี (การบริหารจัดการเป็นระบบลุ่มน้ำ) จำนวน 30 ลุ่มน้ำสาขา/ย่อย ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการน้ำ เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนและองค์กรลุ่มน้ำระดับตำบลโดยการร่วมกันจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยนำร่อง
ความเป็นมา ปี 2549 สสป.มอบหมายให้ สทภ.1-10 จัดเก็บข้อมูลลุ่มน้ำสาขานำร่องในรูปแบบแฟ้ม excel 30 ลุ่มน้ำสาขา ปี 2550 จัดเก็บข้อมูลพื้นฐานทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยนำร่อง เพิ่มอีก 40 ลุ่มน้ำรวมเป็น 70 ลุ่มน้ำ ปี 2551 กรมทรัพยากรน้ำจ้างคณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นที่ปรึกษาเพื่อรวบรวมที่ได้เก็บแล้วทั้ง 70 ลุ่มน้ำให้เป็นฐานข้อมูลและฝึกอบรมให้จนท.ภาคฯสามารถนำข้อมูลมาวิเคราะห์ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
วัตถุประสงค์ 1) เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้ดำเนินการรวบรวมไว้ในช่วงปีงบประมาณ 2549 – 2551 จำนวน 70 ลุ่มน้ำสาขา 2) เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรน้ำ และเชื่อมโยงเข้าสู่ฐานข้อมูล GIS 3) เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้ากรมทรัพยากรน้ำ ให้สามารถตรวจสอบและจัดเก็บข้อมูลไว้ในระบบฐานข้อมูล พร้อมทั้งเชื่อมโยงข้อมูลดังกล่าวเพื่อทำการวิเคราะห์ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ต่อไป
วิธีการดำเนินงาน 1.ที่ปรึกษามีหน้าที่ให้คำปรึกษาเจ้าหน้าที่ ทน. ในการจัดทำฐานข้อมูล 2.เจ้าหน้าที่ของ สทภ. จะต้องเป็นผู้ดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลเองทุกขั้นตอนตามคำแนะนำและการถ่ายทอดความรู้ของที่ปรึกษา
ฐานข้อมูลประเทศ ทน. ฐานข้อมูลภาค ฐานข้อมูลลุ่มน้ำ ต้นแบบในการจัดเก็บข้อมูลและ การสร้างฐานข้อมูลแหล่งน้ำขนาดเล็ก ตามระเบียบสำนักนายก พ.ศ. 2550 ฐานข้อมูลลุ่มน้ำ 70 ลุ่มน้ำสาขา
สทภ. 1-10 ตาราง EXCEL ข้อมูล GIS GIS ระดับภาค ที่ปรึกษา ระดับประเทศ ตรวจสอบความถูกต้อง ให้คำแนะนำในการแก้ไข สทภ. 1-10 2.1 1 2 ตาราง EXCEL ที่ปรึกษา ข้อมูล 4 บูรณาการเป็นระบบเดียว จัการฝึกอบรม ให้คำแนะนำในการจัดทำ ฐานข้อมูลลุ่มน้ำ 70 ลุ่มน้ำย่อย ที่ สทภ. 3 GIS ระดับประเทศ ฐานข้อมูล ประเทศ ทน. จัดการฝึกอบรม ให้คำแนะนำในการจัดทำข้อมูลระดับภาค 4 GIS ระดับภาค ต้นแบบในการจัดเก็บข้อมูลและ การสร้างฐานข้อมูลแหล่งน้ำขนาดเล็ก ตามระเบียบสำนักนายก พ.ศ. 2550
วิสัยทัศน์ของ กรมทรัพยากรน้ำ พันธกิจของ กรมทรัพยากรน้ำ ความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชน รัฐธรรมนูญ มาตรา 85(4) รัฐต้องจัดให้มีแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ยุทธศาสตร์ ทส. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน วิสัยทัศน์ของ กรมทรัพยากรน้ำ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน พันธกิจของ กรมทรัพยากรน้ำ ส่งเสริม สนับสนุน การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน กลไกของ ทน. ในการสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมทรัพยากรน้ำ สสป. คณะกรรมการลุ่มน้ำ 1-25 สทภ. 1-10 คณะอนุกรรมการ ลุ่มน้ำสาขา ส่วนประสานลุ่มน้ำ
บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการลุ่มน้ำ
บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการลุ่มน้ำ
เป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับ 1.ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำระดับลุ่มน้ำ/สาขา 2.แผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ในพื้นที่ลุ่มน้ำ 3.แผนปฏิบัติการและแผน งบประมาณแบบบูรณาการ
นโยบายของอธิบดีกรมทรัพยากรน้ำ 1.นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้จริง 1.1 นำไปเสนอของบประมาณได้ ตัวอย่างเช่น เมื่อมีอุทกภัยจะสามารถนำข้อมูลบ่อน้ำตื้นในพื้นที่มาใช้ประมาณการค่าใช้จ่ายในการสูบล้างได้ทันที 1.2 นำมาใช้ในการจัดสรรน้ำในพื้นที่ได้ 2.ให้เน้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของกรมทรัพยากรน้ำเป็นหลัก - รายละเอียดของบ่อบาดาลให้ใช้ผลสำรวจของกรมทรัพยากรน้ำบาดาลเป็นหลัก