กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ สำนักบริหารกลาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
เพื่อรับการประเมินภายนอก
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
โครงการอาสาสมัคร ดร. ดนัย มิลินทวณิช
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ผลการประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง บทบาทของภาคธุรกิจใน การสนับสนุนให้นำเอา GHS ไปปฏิบัติ กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม นำเสนอต่อการประชุมสัมมนาระดับชาติ
โครงสร้างระบบเว็บไซต์ สำนักงานเลขานุการกรม
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคเหนือและภาคตะวันออก
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
วันอนุรักษ์และพัฒนา แม่น้ำ คู คลอง แห่งชาติ (20 กันยายน 2549) ณ วัดบางซ้ายใน อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เวลา น
สรุปความคิดเห็นของ สื่อมวลชนต่อกิจกรรมสื่อมวลชนสัญจร ที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และพังงา ระหว่างวันที่ 19 – 20 เมษายน 2550.
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการส่งเสริมการใช้ปุ๋ย เพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การสื่อสารองค์กรกรมอนามัย
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
กลุ่มที่ 4.
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
๑๑. คุณพิจิตราฤทธิ์ ประภา ๑๒. คุณพดาลิมปสายชล ๑๓. คุณศิริชัยพุทธศิริ ๑๔. คุณอัครวุฒิศุภ อักษร ๑๕. คุณจันทิราโกมล ๑๖. คุณพนารัตน์ตัณฑ์ ไพบูลย์ ๑๗. คุณสมพรน้อยฉ่ำ.
ผลการจัดกิจกรรม สื่อมวลชนสัญจร ครั้งที่ 2 / 2550 พื้นที่รับผิดชอบของ สทภ.1 ( ณ จังหวัดเชียงใหม่, จังหวัดลำพูน ) วันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ 2550 ระเบียบวาระที่
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 6 ที่ปรึกษา ท่านผู้ทรงคุณวุฒิฯนางสุจิตรา อังคศรีทองกุล ประธาน คุณพิชัย คชพิมพ์ ผู้อำนวยการสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย จังหวัดร้อยเอ็ด.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
งานเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ความสำคัญของการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ 2. เพื่อพัฒนาคน กศน. ภายในองค์กร 3. เพื่อเผยแพร่งาน กศน. 4. เพื่อสร้างความเชื่อถือ รักษาและแก้ไข.
ประธาน นายสุริน รักษาแก้ว เลขา คุณสุนันทา รอดสม ผู้นำเสนอ นายเบญพล ใหม่ชู
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กระบวนการดำเนินการประชาสัมพันธ์
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ แผนงานปี 2557 สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ แผนงานปี 2557.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ สำนักบริหารกลาง รายงานสรุปจากโครงการสัมมนาสร้างความเข้าใจในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคและช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากน้ำ กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ สำนักบริหารกลาง

ตามที่สำนักบริหารกลาง ได้จัดโครงการสัมมนาการสร้างความเข้าใจในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำอุปโภค บริโภคและการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากน้ำ เมื่อวันที่ 3-4 สิงหาคม 2549 ณ จังหวัดพิษณุโลก อุตรดิตถ์ และพิจิตร ซึ่งอยู่ในเขตความรับผิดชอบของ สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 9 นั้น

1. สถานีโทรทัศน์ 5 สถานี ได้แก่ สถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ,7 ,9 ,11 และ ITV ทางสำนักบริหารกลางได้เชิญสื่อมวลชนจากส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเข้ารวมโครงการรวมทั้งสิ้น 17 สถาบัน จำแนกเป็น 1. สถานีโทรทัศน์ 5 สถานี ได้แก่ สถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ,7 ,9 ,11 และ ITV

2. สถานีวิทยุกระจายเสียง 2 สถานี ได้แก่ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยและ สถานีวิทยุ อสมท. 3. หนังสือพิมพ์ 9 ฉบับ ได้แก่ เดลินิวส์ ไทยรัฐ คมชัดลึก ผู้จัดการรายวัน สยามรัฐ ไทยโพสต์ ข่าวสด กรุงเทพธุรกิจ แนวหน้า 4. สื่อมวลชนท้องถิ่น ได้แก่ เคเบิ้ลทีวี และทีวีท้องถิ่นผู้สื่อข่าวของสถานีโทรทัศน์และนสพ.ในส่วนภูมิภาค

ซึ่งผลการดำเนินงานปรากฏว่าสื่อมวลชนที่เข้าร่วมในโครงการมีการรายงานข่าวเกี่ยวกับกรมทรัพยากรน้ำ ในทางที่ดี มีจำนวนชิ้นข่าวที่นำเสนอ 17 ข่าว อย่างต่อเนื่อง

การประเมินผลการปฏิบัติงาน ข้อบกพร่อง ขาดบุคลากรที่ให้ความรู้ เกี่ยวกับกรมทรัพยากรน้ำ อย่างชัดเจน ขาดบุคลากรในการประสานงานระหว่างการเดินทาง ยังขาดกิจกรรมย่อยระหว่างการรอกิจกรรมหลักทำให้นักข่าวบางส่วนมีเวลาว่างมากเกินไป ขาดการวางแผนการเตรียมงานที่ดี

ข้อดี สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเจ้าหน้าที่ของกรมทรัพยากรน้ำกับสื่อมวลชนได้เป็นอย่างดีโดยวัดได้จากข่าวที่สื่อทำการเผยแพร่ให้อย่างต่อเนื่องและเป็นข่าวที่มีผลดีต่อกรมทรัพยากรน้ำและผลงาน ของกรมทรัพยากรน้ำ

สิ่งที่ต้องปรับปรุง ก่อนที่เจ้าหน้าที่ของ กรมทรัพยากน้ำจะ เข้าพื้นที่ต้องมีการ วางแผนและแบ่งงาน อย่างชัดเจน ในหน้าที่ของแต่ละบุคคล 2. มีการจดบันทึกและใส่ใจในรายละเอียดส่วนตัวของสื่อมวลชนว่าแต่ละท่านชอบหรือต้องการสิ่งใดเป็นพิเศษ 3. จัดหาโทรโข่งในการอธิบายงานในพื้นที่ภายนอกเพื่อสะดวกในการสื่อสารและอธิบายงานต่างๆ

4.เพิ่มวิทยุสื่อสารเพื่อความราบรื่นในการประสานงาน 5. เพิ่มขนาดป้ายของกรมทรัพยากรน้ำให้ใหญ่ขึ้นโดยเฉพาะเพิ่มขนาดโลโก้ให้ตัวหนังสือมีขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อให้ติดตาประชาชนเมื่อสื่อมวลชนทำการเผยแพร่ออกสู่สาธารณชน

ข้อสังเกต 1.การออกแบบโลโก้ของกรมทรัพยากรน้ำที่ใช้ในปัจจุบันนั้น มีความเด่นชัด เพียงภาพหยดน้ำเท่านั้น ทำให้ไม่สามารถสื่อสารกับสาธารณชนได้ว่าสัญลักษณ์ที่ประชาชนเห็นนั้นคือหน่วยงานใด 2.การจัดสื่อมวลชนสัญจรนั้นถ้าจัดกลุ่มใหญ่จะมีปัญหาเรื่องการจัดการบริหาร เวลาและการดูแล แต่จะได้ผลระยะยาวเนื่องจากมีข่าวออกสู่สาธารณชนอย่างต่อเนื่อง