ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Advertisements

เกณฑ์การประเมินของ สกว.
โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร Royal Society of Chemistry.
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ขั้นตอนการดำเนินงาน ฐานข้อมูล TCI
กระบวนการตีพิมพ์งานวิจัย ในวารสารวิชาการ
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
การใช้งานฐานข้อมูล Springer Link
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สรุปประเด็นแนวปฏิบัติที่ดี ( Good Practice ) : ยุทธศาสตร์การเพิ่มจำนวนบทความวิจัย และ จำนวนการอ้างอิงในฐานข้อมูลวิจัยนานาชาติ 1. วิเคราะห์ baseline data.
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1 โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์ แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุ่งล่าสุด 12/5/2009.
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
Seminar in computer Science
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. เข้าเว็บ scopus ( ตาม web address ของแต่ละมหาวิทยาลัยที่บอกรับเป็นสมาชิก )
การประกันคุณภาพการศึกษา
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล American Chemical Society (ACS) จัดทำโดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ปรับปรุงครั้งล่าสุด 5 มีนาคม 2551.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
CHE QA ONLINE ประชุมชี้แจงการปรับปรุงและ การใช้ระบบฐานข้อมูลด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 28 ก. ค
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
การพัฒนาคุณภาพ งานวิจัย ของ ภาควิชาศัลยศาสตร์ ตามเกณฑ์ สกว.
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
รางวัลผลงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ

1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
สรุป Web of Science โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล Book Promotion & Service Co., Ltd. โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
ฐานข้อมูล Science Direct
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
แนวคิดในการทำวิจัย.
บริการแนะนำการผลิตตำรา งานวิจัยและการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
MDCONSULT โดย สุวรรณ สัมฤทธิ์ งานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด งานห้องสมุดกรมการแพทย์ สำนัก พัฒนาวิชาการแพทย์ ปรับปรุงล่าสุด 28/04/51.
การสืบค้นข้อมูลเพื่อทำวิทยานิพนธ์ ให้ประสบความสำเร็จ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
การใช้งานฐานข้อมูล Full Text โครงการให้บริการฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น (E-Journal) สำหรับกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย โดย.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 19/12/54 โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย... จิรวัฒน์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การตรวจสอบบทความ จากฐานข้อมูล
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสำคัญและคุณภาพของการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย (เน้นงานวิจัยของนักศึกษาและอาจารย์ในมหาวิทยาลัย) ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 28 สิงหาคม 2551

ความสำคัญของการตีพิมพ์ผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธ์ บัณฑิตศึกษาควรได้รับการฝึกให้เผยแพร่ผลงานวิจัยในทุกประเภท (วารสาร ที่ประชุมวิชาการ และสิทธิบัตร) ถือเป็น contributions ที่เป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อวงการวิชาการ และสังคม ฝึกนิสัยการเขียนและสรุปใจความสำคัญของงานทั้งหมดก่อนจบการศึกษา (อาจรวมถึงการฝึกภาษาด้วย) เป็นฉบับย่อของสาระและบทสรุปที่สำคัญ สามารถเข้าใจได้ในเวลาสั้น ถือเป็นกลไกการกลั่นกรองคุณภาพผลงานอีกครั้งหนึ่ง (นอกเหนือจากกรรมการวิทยานิพนธ์) โดยกระบวนการ peer review (blinded or double blinded) เป็นการผลิต ป.เอก ในประเทศ มาตรฐานสากล (ป.เอก ที่ต้องตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ) ยกระดับคุณภาพวิชาการ แสดงให้เห็นถึงความสามารถทางการวิจัย ของบุคคล หน่วยงาน และประเทศ (รวมถึง track record และ promotion ต่างๆ เป็นต้น)

คุณภาพผลงานตีพิมพ์จากผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาปริญญาโทและเอก งานวิจัยป.โทและเอก ควรมีคุณภาพและการเผยแพร่มาตรฐานเดียวกัน ยกเว้น เงื่อนไขของปริมาณงานและระยะเวลาจบการศึกษา (งานวิจัยกัดติดและต่อเนื่องมักไม่พบปัญหาเรื่องเงื่อนไขระยะเวลา) การเผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ มีระบบ peer review ที่เข้มข้นกว่าในระดับชาติ (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้าน ว และ ท) คุณภาพผลงานที่เสนอด้วยวาจากับด้วยโปสเตอร์ ใกล้เคียงกัน การนำเสนอโปสเตอร์อาจได้รับ comments ที่เป็นประโยชน์มากกว่า การได้รับการตีพิมพ์ ไม่ได้แปลว่า ผลงานวิจัยมีคุณภาพเสมอไป คุณภาพเริ่มชัดเจนเมื่อผลงานได้รับการอ้างอิง (citations) ปัจจุบันมีการจัดลำดับหรือแบ่งเกณฑ์คุณภาพของวารสารวิชาการโดยเฉพาะในระดับนานาชาติ ที่นิยมและเป็นที่รู้จักคือ ค่า Journal Impact Factors (JIF)

Journal Impact Factors (JIF) กับการตีพิมพ์ผลงานวิจัย (เน้น ว และ ท) การตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารที่มีค่า JIF แสดงว่า ผลงานอยู่ในสื่อที่มีผู้อ่านอย่างแน่นอนและผู้อ่านเข้าถึงได้ไม่ยากนัก (visibility) วารสารที่มี JIF แสดงว่า มีการตีพิมพ์สม่ำเสมอ มีการตรวจสอบคุณภาพของลงพิมพ์ สามารถสืบค้นได้ เนื้อหามีความทันสมัย มีการอ่านและนำไปใช้อ้างอิง (อ้างอิงจากเกณฑ์การคัดเลือกวารสารเข้าฐาน SCI SSCI และ AHCI) วารสารที่มี JIF แตกต่างกัน ไม่ได้หมายความว่า มีคุณภาพแตกต่างกัน ทั้งนี้ ต้องพิจารณาปัจจัยอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น สาขาวิชา การยอมรับของนักวิชาการในสาขา ดัชนีวัดคุณภาพอื่นๆ เป็นต้น ค่า JIF ในสาขา ว และ ท ค่อนข้างไปในทิศทางเดียวกับคุณภาพโดยรวมของวารสาร ในขณะที่วารสารในมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพและค่า JIF ที่แน่นอน

Journal Impact Factors (JIF) กับการตีพิมพ์ผลงานวิจัย (เน้นด้าน ว และ ท) (ต่อ) บอกคุณภาพผลงานไม่ได้ 100% เป็นได้เพียงหนึ่งในเครื่องมือวัดคุณภาพที่ต้องใช้ร่วมกับเครื่องมือวัดอื่นๆ และ ปัจจุบันค่า JIF สามารถ manipulate ได้โดย contributors, editors และ publishers(วารสารมี total articles สูง manipulate ได้ยากกว่า) ดังนั้น ต้องใช้ค่า JIF อย่างระมัดระวัง คุณภาพผลงานที่แท้จริงคือ การที่ผลงานถูกอ้างอิง ไม่ใช่การผลงานอยู่ในวารสารที่มี JIF เพราะ JIF คือการถูกอ้างอิงของวารสาร ซึ่งอาจไม่ใช่ ทุกบทความในวารสารนั้นถูกอ้างอิง คุณภาพบทความควรพิจารณาค่า JIF ควบคู่กับ citation counts ของบทความที่กำลังสนใจในวารสารนั้นๆ ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา Article impact factors (AIF) หรือ Person impact factors (PIF) สำคัญกว่าค่า JIF.

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารไทย หรือในที่ประชุมวิชาการในประเทศ วารสารไทยมีกำหนดการตีพิมพ์ไม่แน่นอนและไม่ต่อเนื่อง (เนื่องจากไม่มีต้นฉบับให้พิจารณาเพียงพอ) ระบบ peer review ไม่เข้มข้น (โดยเฉพาะในที่ประชุมวิชาการ) เพราะฉะนั้น การได้รับการตีพิมพ์ ไม่ได้แปลว่า ผลงานวิจัยมีคุณภาพ เสมอไป ระบบการจัดการวารสารไม่ดีพอ (เป็นงานฝากทำ งบประมาณต่ำ ไม่มีการประชุมกองบรรณาธิการ เน้นงาน routine เป็นต้น) ผลงานที่ลงพิมพ์ในวารไทยเป็นผลงานคุณภาพเกรดรอง (ผลงานเกรด A อยู่ในวารสารนานาชาติ) วารสารแต่ละชื่อเรื่องตีพิมพ์บทความทุกสาขาวิชา ขาดเอกลักษณษ์ของวารสาร ไม่น่าสนใจ มีการเผยแพร่และมีผู้อ่านและอ้างอิงอยู่ในวงแคบ (very low citations and low JIF) [Ref. TCI-JIF]

ปริมาณวารสารไทยในฐานข้อมูล TCI (ตามหน่วยงานที่ผลิตวารสาร) จำนวนวารสารในฐานข้อมูลปี 2550-53 จะเป็น 300 รายการ

ข้อมูลของวารสารไทยในฐานข้อมูล TCI ระหว่างปี พ. ศ วารสารของหน่วยงานราชการ จำนวนวารสาร 18 รายการ จำนวนบทความ 1,414 บทความ ถูกอ้างอิง 628 ครั้ง อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.444 ครั้ง/บทความ วารสารของสมาคมวิชาชีพ จำนวนวารสาร 26 รายการ จำนวนบทความ 6,368 บทความ ถูกอ้างอิง 5,101 ครั้ง อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.801 ครั้ง/บทความ วารสารของมหาวิทยาลัย จำนวนวารสาร 40 รายการ จำนวนบทความ 5,120 บทความ ถูกอ้างอิง 1,083 ครั้ง อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.212 ครั้ง/บทความ (ส่วนมากเป็นการอ้างอิงในวงกว้าง) วารสารของคณะวิชา จำนวนวารสาร 82 รายการ จำนวนบทความ 8,282 บทความ ถูกอ้างอิง 2,743 ครั้ง อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.331 ครั้ง/บทความ (ส่วนมากเป็นการอ้างอิงในวงแคบ) จำนวนบทความทั้งหมด 21,184 บทความ ถูกอ้างอิงทั้งหมด 9,555 ครั้ง อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิงโดยรวม 0.451 ครั้ง/บทความ

ข้อมูลของวารสารไทยในฐานข้อมูล TCI ระหว่างปี พ. ศ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวนวารสาร 51 รายการ จำนวนบทความ 3,371 บทความ ถูกอ้างอิง 595 ครั้ง อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.177 ครั้ง/บทความ สาขาวิชาผสม จำนวนวารสาร 19 รายการ จำนวนบทความ 1,877 บทความ ถูกอ้างอิง 226 ครั้ง อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.120 ครั้ง/บทความ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวนวารสาร 47 รายการ จำนวนบทความ 6,612 บทความ ถูกอ้างอิง 1,780 ครั้ง อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.269 ครั้ง/บทความ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำนวนวารสาร 49 รายการ จำนวนบทความ 9,324 บทความ ถูกอ้างอิง 6,954 ครั้ง อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.746 ครั้ง/บทความ

สรุปของการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ การได้รับการตีพิมพ์ไม่ได้แปลว่าผลงานวิจัยมีคุณภาพเสมอไป คุณภาพวารสารไทย และที่ประชุมวิชาการไทย ยังไม่เข็มแข็งเพราะขาดระบบ peer review ที่เข้มข้น ไม่แน่ใจเรื่องคุณภาพผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ (ดูจาก การบริหารจัดการ และ low citations) วารสารที่มีค่า JIF แสดงว่า ผลงานอยู่ในสื่อที่ผู้อ่านเข้าถึงได้ และแสดงว่า วารสารมีการตีพิมพ์สม่ำเสมอ มีระบบ peer review คุณภาพผลงานวิจัย อาจเริ่มเกิดขึ้นเมื่อได้รับการตีพิมพ์ในสื่อพิมพ์ที่มี peer review ที่เข้มข้น และคุณภาพเริ่มชัดเจนเมื่อผลงานวิจัยได้รับการอ้างอิง (citations) คุณภาพผลงานที่แท้จริงคือ การที่ผลงานถูกอ้างอิง ไม่ใช่การผลงานอยู่ในวารสารที่มี JIF

Number of articles in journals Ranking of publication quality Number of articles in journals Publication in inter. J (preferably indexed in SCI database) Articles in journals with high journal impact factors, Publication credits, Citation counts, Article impact factors Person impact factors (% contribution) Merit of the article contents

Thank you

ค่า JIF ในปี 50 = ค่า JII ในปี 50 = วารสาร A 2548 2549 2550 จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ 35 40 45 จำนวนครั้งที่ถูกอ้างอิงทั้งหมด 100 - บทความในปี 48 ถูกอ้างอิงในปี 50 30 ครั้ง - บทความในปี 49 ถูกอ้างอิงในปี 50 20 ครั้ง - บทความในปี 50 ถูกอ้างอิงในปี 50 10 ครั้ง 20 + 30 50 ค่า JIF ในปี 50 = = = 0.666 40 + 35 75 10 ค่า JII ในปี 50 = = 0.222 45