คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
โปรแกรมเก็บสถิติทั่วไปด้านจัดสรรน้ำ ของโครงการชลประทาน (IRRIPROSTAT)
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
ถุงเงิน ถุงทอง.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
หลักการและเหตุผล แผนกลยุทธ์และแผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธ์ศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี เป็นแผนที่จัดทำขึ้นจากการมีส่วนร่วมของคณะทำงานซึ่งเป็นผู้แทนของหน่วยงานในสังกัดกรมฯทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ศูนย์บริหารโครงการเงินกู้ เพื่อวางระบบบริหาร จัดการน้ำและสร้างอนาคต ประเทศ ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่ 879/2555 ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
วาระที่ 3.5 ความเห็นของ TRIS ต่อรายงาน KPI รอบ 6 เดือน ประเด็น TRIS ต้องการให้ ทน. ทำเพิ่มเติม (28 เมษายน 2549) ตัวชี้วัดที่ 3.1ประปาหมู่บ้าน ให้ติดตามการต่อยอดจากผลที่ได้ของ.
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
ระเบียบวาระที่ 3.2 ความก้าวหน้าของการจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศข้าราชการระดับกรม (DPIS)
3.3.2 การวิเคราะห์ การเรียกใช้ข้อมูล และการทำรายงานจากฐานข้อมูล
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
Geographic Information System
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
ร่างรายงานขั้นสุดท้าย (Draft Final Report)
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
โปรแกรมสำหรับการเลื่อนเงินเดือน
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การเขียนรายงานผลการวิจัย
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง) คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่กรมทรัพยากรน้ำได้ ดำเนินการรวบรวมไว้ในช่วงปีงบประมาณ 2549 – 2551 จำนวน 70 ลุ่มน้ำสาขา 2) เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรน้ำ และเชื่อมโยงเข้าสู่ ฐานข้อมูล GIS โดยให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลได้ทั้งในระดับขอบเขตการ ปกครอง และระดับลุ่มน้ำ 3) เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้ากรมทรัพยากรน้ำ ให้สามารถตรวจสอบ และจัดเก็บข้อมูลไว้ในระบบฐานข้อมูล พร้อมทั้งเชื่อมโยงข้อมูลดังกล่าวเข้ากับ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมูลในระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ต่อไป

ประโยชน์ที่ได้รับ 1) มีฐานข้อมูลด้านทรัพยากรน้ำในระดับพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาและลุ่มน้ำย่อย และฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ซึ่งสามารถวิเคราะห์และแสดงผลข้อมูลได้ทั้งในระดับขอบเขตการปกครอง และในระดับลุ่มน้ำ ครอบคลุมพื้นที่ลุ่มน้ำสาขานำร่องทั้ง 70 ลุ่มน้ำสาขา 2) เสริมสร้างศักยภาพเจ้าหน้าที่กรมทรัพยากรน้ำที่มีหน้าที่รับผิดชอบให้สามารถดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ได้ รวมถึงสามารถวิเคราะห์ข้อมูลจากระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้

ขอบเขตลุ่มน้ำสาขานำร่อง 70 ลุ่มน้ำ และ พื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 1 - 10 ลุ่มน้ำนำร่องดำเนินการระหว่าง ปี 2549 - 2550 ลุ่มน้ำนำร่องดำเนินการ ปี 2551

แนวทางในการดำเนินงาน ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ได้แก่ 1) การตรวจสอบความครบถ้วนและถูกต้องของข้อมูล 2) เพื่อติดตามและตรวจสอบข้อมูลที่ สทภ.1-10 3) การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและการนำเข้าข้อมูล 4) การจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 5) การวิเคราะห์และแสดงผลข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ 6) การจัดทำคู่มือและการฝึกอบรม ที่ปรึกษาและเจ้าหน้าที่ทำงานร่วมกัน

กรอบแนวคิดในการดำเนินโครงการ ฐานข้อมูล ทรัพยากรน้ำ สทภ.1-10 จัดเก็บข้อมูล สถาบันที่ปรึกษา Excel, Access, ArcView แสดงผลข้อมูล ออกภาคสนาม 2 ครั้ง รับฟังปัญหาในการเก็บข้อมูล ร่วมแก้ไขปัญหาที่พบ ให้คำแนะนำการกรอกข้อมูล ให้คำแนะนำการจัดเก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล ให้คำแนะนำในการแสดงผล อบรมการทำงานกับ GIS ในเบื้องต้น ให้คำแนะนำในการแสดงผลข้อมูลร่วมกับ GIS ให้คำแนะนำทางเทคนิคต่าง ๆ เพิ่มเติม ฯลฯ รูปแบบตาราง และ GIS หมู่บ้าน ตำแหน่ง ทรัพยากรน้ำ ....... แบบสอบถาม ข้อมูลทรัพยากรน้ำ

การออกภาคสนามครั้งที่ 1 ระหว่าง 7 พ.ย. – 16 ธ.ค. 2551 สถาบันที่ปรึกษา หลังจากการออกภาคสนามครั้งที่ 1 ทาง สทภ.จะทำการจัดส่งข้อมูลกลับมายังสถาบันฯ กำหนดการส่งข้อมูลไว้ในช่วงปลายเดือน ธ.ค. 2551 ข้อมูลจะถูกนำมาตรวจสอบ วิเคราะห์-ประมวลผล เพื่อนำมาจัดทำเป็นข้อสรุปถึงสภาพปัญหาเชิงลึกที่อาจจะยังคงพบอยู่สำหรับบางสำนักงาน เพื่อนำมาจัดทำเป็นแผนสำหรับการเตรียมพร้อมในการออกภาคสนามครั้งที่ 2 ต่อไป

การออกภาคสนามครั้งที่ 2 ระยะเวลา 30 วัน ระหว่าง 15 ม.ค. – 15 ก.พ. 2552 สถาบันที่ปรึกษา หลังจากการออกภาคสนามครั้งที่ 2 ทาง สทภ.จะทำการจัดส่งข้อมูลกลับมายังสถาบันฯ กำหนดการส่งข้อมูลไว้ในช่วงปลายเดือน ก.พ. 2552 ข้อมูลจะถูกนำมาตรวจสอบ วิเคราะห์-ประมวลผลขั้นตอนสุดท้าย จัดเตรียมข้อมูลทั้งหมดสำหรับจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลต่อไป

สรุปปัญหาการดำเนินการจัดทำทะเบียนแหล่งน้ำขนาดเล็ก 1) ปัญหาด้านการบริหารโครงการ - การขาดแคลนบุคลากร/งบประมาณ - การขาดแคลนเครื่องมือ-อุปกรณ์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ และ GPS - ความเข้าใจต่อความจำเป็นและการใช้ประโยชน์จากระบบฐานข้อมูล 2) ปัญหาในการเก็บข้อมูลในภาคสนาม - การกำหนดชนิด-ประเภทของแหล่งน้ำ และหน่วยที่ใช้ - การตั้งค่าระบบพิกัดในเครื่อง GPS และระบบของแผนที่ที่ใช้ 3) ปัญหาในการจัดเก็บข้อมูล - ความล่าช้าจากการเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลจากแบบฟอร์มเดิม - ความชำนาญในการจัดเก็บข้อมูลของบุคลากรแตกต่างกัน

การคลาดเคลื่อนเนื่องจากระบบพิกัด