ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
Advertisements

ครึ่งปี.. ผ่าน พ้น..? ที่ … สำนักส่งเสริม และจัดการสินค้า เกษตร ( สสจ. )
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับ เขต (RW) ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ และงานแสดงมุทิตาจิตผู้ เกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ วันที่ ๒ - ๔ กันยายน ๒๕๕๖ ณ โรงแรมสตาร์
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
โครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตเกษตรกรสมาชิก
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ปฏิรูปที่ดิน ปฏิรูปเกษตรกร Management reform
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม ส่งเสริมการผลิตสินค้า ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ส่งเสริมการผลิตสินค้า.
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร (ศวพก)
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ

- นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย สวพ.8 - ภาพโครงสร้างการวิจัยและพัฒนาพืช สวพ.8 - ภาพแผนการวิจัยและพัฒนาพืช สวพ.8

การพัฒนา การเกษตร ภาคใต้ ตอนล่าง

ศักยภาพ จุดแข็ง และโอกาสการพัฒนา

ขยายผล ศึกษา ทดลอง กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 1. การพัฒนาตามแนวทางโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ขยายผล ศึกษา ทดลอง

2.วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่น กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 2.วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่น รวบรวม เผยแพร่การใช้เทคโนโลยีพื้นบ้าน

กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 3. พัฒนาการผลิตในรูปแบบเกษตรยั่งยืน บูรณาการ ทำแผนพัฒนา สนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากร พัฒนาการผลิต การแปรรูป และมาตรฐานสินค้า

กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 4.พัฒนาการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง - ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยจากสารพิษ - ควบคุมมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรให้ปลอดภัย จากสารพิษ

กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 5. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม่ ขยายพันธุ์ ปรับปรุงคุณภาพ

กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 6. เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต กระจายพันธุ์ดี ส่งเสริมให้นำเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย

กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 7. เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันสินค้าเกษตร สนับสนุนเอกชนเพิ่มการผลิตพืชพันธุ์ดี ถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการในแปลงเพาะปลูก

กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 8. เสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนผ่านสถาบันเกษตรกร

กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 9. เพิ่มศักยภาพการจัดการตลาด - สร้างเครือข่าย การตลาด

กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 10. พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรที่มีศักยภาพ - แปรรูป

กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 11. เพิ่มโอกาสและความสามารถในการ ประกอบอาชีพ - ฝึกอบรมและสร้างเครือข่ายสารสนเทศ และการเกษตร

กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 12. พัฒนางานท่องเที่ยวและกิจกรรมต่อเนื่องเพื่อ เพิ่มรายได้แก่ชุมชน

ปัญหาการผลิตพืชในภาคใต้ตอนล่าง

สถานการณ์การผลิตพืช

การผลิตไม้ผล 1. ปริมาณการผลิต การผลิตไม้ผล 1. ปริมาณการผลิต พืชที่มีพื้นที่ปลูก เกินล้านไร่ กลุ่มที่มีพื้นที่ปลูก เกินแสนไร่ กลุ่มพืชที่มีพื้นที่ปลูก 10,000-70,000 ไร่ กลุ่มพืชที่มีพื้นที่ปลูก 1,000-9, 000 ไร่ กลุ่มพืชที่มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่า 1,000 ไร่

2. มูลค่าผลผลิต พืชที่มีมูลค่ารายได้เกินหมื่นล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้ เกินพันล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้ 500-900 ล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้ 100-300 ล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้ 50-95 ล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้ 10-42 ล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้น้อยกว่า 10 ล้านบาท

มูลค่าผลผลิตต่อไร่ พืชที่มีมูลค่าผลผลิตต่อไร่เกินแสนบาท/ไร่ กลุ่มพืชที่มีมูลค่าผลผลิตต่อไร่ 20,000-70,000 บาท/ไร่ กลุ่มพืชที่มีมูลค่าผลผลิตต่อไร่ 10,000-20,000 บาท/ไร่ กลุ่มพืชที่มีมูลค่าผลผลิตต่อไร่ น้อยกว่า 10,000 บาท/ไร่

สถานการณ์การผลิตพืชแต่ละชนิด(ตามลำดับมูลค่าผลผลิต) ยางพารา ลองกอง ทุเรียน ปาล์มน้ำมัน มะพร้าวแก่ เงาะ มังคุด ฯลฯ