ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ
- นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย สวพ.8 - ภาพโครงสร้างการวิจัยและพัฒนาพืช สวพ.8 - ภาพแผนการวิจัยและพัฒนาพืช สวพ.8
การพัฒนา การเกษตร ภาคใต้ ตอนล่าง
ศักยภาพ จุดแข็ง และโอกาสการพัฒนา
ขยายผล ศึกษา ทดลอง กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 1. การพัฒนาตามแนวทางโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ขยายผล ศึกษา ทดลอง
2.วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่น กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 2.วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่น รวบรวม เผยแพร่การใช้เทคโนโลยีพื้นบ้าน
กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 3. พัฒนาการผลิตในรูปแบบเกษตรยั่งยืน บูรณาการ ทำแผนพัฒนา สนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากร พัฒนาการผลิต การแปรรูป และมาตรฐานสินค้า
กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 4.พัฒนาการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง - ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยจากสารพิษ - ควบคุมมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรให้ปลอดภัย จากสารพิษ
กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 5. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม่ ขยายพันธุ์ ปรับปรุงคุณภาพ
กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 6. เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต กระจายพันธุ์ดี ส่งเสริมให้นำเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย
กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 7. เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันสินค้าเกษตร สนับสนุนเอกชนเพิ่มการผลิตพืชพันธุ์ดี ถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการในแปลงเพาะปลูก
กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 8. เสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนผ่านสถาบันเกษตรกร
กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 9. เพิ่มศักยภาพการจัดการตลาด - สร้างเครือข่าย การตลาด
กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 10. พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรที่มีศักยภาพ - แปรรูป
กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 11. เพิ่มโอกาสและความสามารถในการ ประกอบอาชีพ - ฝึกอบรมและสร้างเครือข่ายสารสนเทศ และการเกษตร
กลยุทธ์และแนวทางดำเนินงานด้านเกษตรที่ยั่งยืน 12. พัฒนางานท่องเที่ยวและกิจกรรมต่อเนื่องเพื่อ เพิ่มรายได้แก่ชุมชน
ปัญหาการผลิตพืชในภาคใต้ตอนล่าง
สถานการณ์การผลิตพืช
การผลิตไม้ผล 1. ปริมาณการผลิต การผลิตไม้ผล 1. ปริมาณการผลิต พืชที่มีพื้นที่ปลูก เกินล้านไร่ กลุ่มที่มีพื้นที่ปลูก เกินแสนไร่ กลุ่มพืชที่มีพื้นที่ปลูก 10,000-70,000 ไร่ กลุ่มพืชที่มีพื้นที่ปลูก 1,000-9, 000 ไร่ กลุ่มพืชที่มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่า 1,000 ไร่
2. มูลค่าผลผลิต พืชที่มีมูลค่ารายได้เกินหมื่นล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้ เกินพันล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้ 500-900 ล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้ 100-300 ล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้ 50-95 ล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้ 10-42 ล้านบาท กลุ่มพืชที่มีมูลค่ารายได้น้อยกว่า 10 ล้านบาท
มูลค่าผลผลิตต่อไร่ พืชที่มีมูลค่าผลผลิตต่อไร่เกินแสนบาท/ไร่ กลุ่มพืชที่มีมูลค่าผลผลิตต่อไร่ 20,000-70,000 บาท/ไร่ กลุ่มพืชที่มีมูลค่าผลผลิตต่อไร่ 10,000-20,000 บาท/ไร่ กลุ่มพืชที่มีมูลค่าผลผลิตต่อไร่ น้อยกว่า 10,000 บาท/ไร่
สถานการณ์การผลิตพืชแต่ละชนิด(ตามลำดับมูลค่าผลผลิต) ยางพารา ลองกอง ทุเรียน ปาล์มน้ำมัน มะพร้าวแก่ เงาะ มังคุด ฯลฯ