มี 4 ข้อ Substantial Transformation Criteria (ST) 1. เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านพิกัดฯ(CTC) 2. เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่เพิ่มขึ้นในตัวสินค้า(VA) 3. เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต (Process) 4. เกณฑ์แบบผสมหรือเกณฑ์เฉพาะสำหรับผลิตภัณฑ์ (Mixed Criteria or Product Specific Rules)
1. เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านพิกัดฯ(A Criterion of change in tariff classification หรือ CTC หมายถึง เกณฑ์ถิ่นกำเนิดฯที่กำหนดโดยดูจากการ เปลี่ยนแปลงพิกัดฯระหว่างพิกัดฯของวัตถุดิบที่นำเข้ากับพิกัดฯของสินค้าสำเร็จรูปที่ส่งออก โดยความแตกต่างของพิกัดฯเกิดขึ้นจาก การที่วัตถุดิบนำเข้าดังกล่าว ถูกนำไปแปรรูปเป็นสินค้าสำเร็จรูปโดยผ่านกระบวนการที่ซับซ้อน สินค้าที่ได้จากกระบวนการดังกล่าวจะได้ถิ่นกำเนิดฯเป็นของประเทศผู้ผลิต ถ้าการแปรรูปใช้กระบวนการอย่างง่ายสินค้าที่ได้จะไม่ได้ถิ่นกำเนิดฯแม้ว่ามีการเปลี่ยนพิกัดฯ
ส่งออก วัตถุดิบนำเข้า ถิ่นกำเนิดสินค้าเป็นของประเทศผู้ส่งออก สินค้าส่งออก Processes Complex Transformation 3923.30 3904.22 (PVC) พิกัดฯของวัตถุดิบนำเข้า พิกัดฯของสินค้าส่งออก 3904.22 พิกัดฯแตกต่างกัน 3923.30 ถิ่นกำเนิดสินค้าเป็นของประเทศผู้ส่งออก ส่งออก สินค้าส่งออก
แตกต่าง หรือ วัตถุดิบนำเข้าเป็นผ้า ของสำเร็จรูปที่ส่งออกเป็นเสื้อ การตัดเย็บเสื้อผ้าจัดเป็นกระบวนการผลิตที่ยาก 6206.30 5208.52 แตกต่าง 6206.30 5208.52 Change of Tariff Chapter หรือ เสื้อที่ส่งออก
หรือ วัตถุดิบนำเข้าเป็นเส้นด้าย ของสำเร็จรูปที่ส่งออกเป็นผ้าทอ การทอผ้าจัดเป็นกระบวนการผลิตที่ยาก 5402.47 5407.61 แตกต่าง 5402.47 5407.61 Change of Tariff Heading หรือ ผ้าที่ส่งออก
หรือ วัตถุดิบนำเข้าเป็นเพชรดิบ ของสำเร็จรูปที่ส่งออกเป็นเพชรเจียระไนแล้ว การเจียระไนจัดเป็นกระบวนการผลิตที่ยาก 7102.21 7102.29 แตกต่าง 7102.21 7102.29 Change of Tariff Sub-heading หรือ เพชรที่ส่งออก
สรุปได้ว่าเกณฑ์การได้ถิ่นกำเนิดสินค้าโดยการเปลี่ยนแปลงพิกัดฯแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ 1.เปลี่ยนแปลงในระดับตอน(Change of Tariff Chapter) หรือ CC 2.เปลี่ยนแปลงในระดับประเภท(Change of Tariff Heading) หรือ CTH 3.เปลี่ยนแปลงในระดับประเภทแยกย่อย(Change of Tariff Split-heading) หรือ CTHS
4.เปลี่ยนแปลงในระดับประเภทย่อย(Change of Tariff Subheading) หรือ CTSH 5.เปลี่ยนแปลงในระดับประเภทย่อยแยกย่อย(Change of Tariff Split-Subheading) หรือ CTSHS
กรณีสินค้าที่ส่งออก ทำมาจาก วัตถุดิบหลายชนิด เราจะพบว่าในตัวสินค้านั้น จะมีเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า หลายเกณฑ์ปนกันอยู่ในตัวสินค้า ปัญหาก็คือ เราจะกำหนดเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า สำหรับสินค้าที่ส่งออกได้อย่างไร การกำหนดเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า ในกรณีดังกล่าวข้างต้นนี้ สามารถทำได้โดยใช้ หลักเกณฑ์ที่เรียกว่า “Tariff Shift Rules”
หลักการของ”Tariff Shift Rules” คือการนำเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้าที่มีอยู่หลายเกณฑ์ในตัวสินค้ามาเรียงลำดับกัน โดยให้เรียงจากเกณฑ์ที่มีจำนวนหลักของตัวเลขที่มากไปหาเกณฑ์ที่มีจำนวนหลักของตัวเลขที่น้อย แล้วสรุปให้ตัวเลขมากเป็นเกณฑ์ตัวแทนของสินค้านั้น ตามตัวอย่างในPageต่อไป
6 หลัก CTSHS 6 หลัก CC CTSH 2 หลัก 4 หลัก 4 หลัก CTHS CTH หลัก Tariff Shift Rules คือ ตัวเลขมากคลุมตัวเลขน้อย
CTH 440130 PROCESSES EXPORT ไม้อัด 441299 350699 CC CTH กาว
CC CC CC CTSH CTSH ส่งออก Part:8450.90 8450.12 Switch:8536 Motor :8501 Circuit:8537 CC Rubber:40 CC ส่งออก Glass:70 CTSH Part:8450.90 CTSH