ผลการดำเนินงานที่ผ่าน มาของโรงพยาบาล ปัตตานี. แรงงานข้ามชาติ พนักงานบริการ ประชาชนทั่วไป ชายรักชาย กลุ่มเป้าหมาย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จังหวัดตราด ผลการเฝ้าระวังปี 2555.
Advertisements

โครงการการป้องกันเอชไอวีในกลุ่มประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ 3 เรื่องงานด้านการดูแล รักษาผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย.
ข้อพิจารณาว่าน่าจะทำเป็น ข้อเสนองานเอดส์ 1) ข้อมูลสามารถแปลงเป็นประเด็นเชิงกลยุทธ (Strategic Information) ความสำคัญของปัญหา และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เกี่ยวกับเอดส์
ระบบการส่งต่อผู้ป่วย จังหวัดตราด
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
งานวัยทำงาน กลุ่มเป้าหมาย พ่อ แม่ และประชาชนในวัยทำงาน
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ประสบการณ์และข้อเสนอแนะ แนวทางการเฝ้าระวังโรคและภัย สุขภาพด้านต่างๆ ของแรงงานข้ามชาติ วันที่ 13 มีนาคม 2557 การประชุมวิชาการป้องกันควบคุมโรค แห่งชาติประจำปี
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สมาคมส่งเสริมพัฒนาการสังคม (SDA)
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงานที่ผ่าน มาของโรงพยาบาล ปัตตานี

แรงงานข้ามชาติ พนักงานบริการ ประชาชนทั่วไป ชายรักชาย กลุ่มเป้าหมาย

ศึกษาข้อมูล ปัญหา และความต้องการรับบริการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ชี้แจงโครงการต่อผู้บริหาร คณะกรรมการเอดส์ และหน่วยงานที่มีส่วน เกี่ยวข้องในโรงพยาบาล สำรวจแหล่งบริการทางเพศและผู้ให้บริการทางเพศ จัดทำสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคติดต่อทางสัมพันธ์และเอดส์ ออกหน่วยให้บริการใน Drop in และสถานบริการ 2 ครั้ง / สัปดาห์ ออกหน่วยให้บริการร่วมกับรักษ์ไทยในชุมชน โรงงาน แพปลา การดำเนินโครงการ

รูปแบบการเข้าถึงบริการ ประกอบด้วย 1. การให้บริการในโรงพยาบาล - การเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ - การมาฝากครรภ์ - ตรวจสุขภาพแรงงาน ฯลฯ 2. การให้บริการนอกโรงพยาบาลในคลินิกกามโรค - บริการ Mobile VCT และ การให้ความรู้ในชุมชน - บริการตรวจรักษา ป้องกัน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - สนับสนุนถุงยางอนามัย และสื่อการสอนเกี่ยวกับโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ รูปแบบบริการ COUNSELING TESTING

ออกหน่วย VCT MOBILE ใน DROP IN P-PAT

บริการ VCT และให้สุขศึกษาในสถานบริการในช่วงบ่าย

บริการ VCT และให้สุขศึกษาในสถานบริการในช่วงค่ำ

ออกหน่วย VCT MOBILE ใน DROP IN รักษ์ไทย

รณรงค์เรื่องโรคเอดส์ในลอยกระทง (10 พ. ย 54)

จัดกิจกรรมในวันเอดส์โลก (11 ธ. ค.54) ธ. ค.5

จัดกิจกรรมในวันเอดส์โลก (1 ธ. ค.55) ธ. ค.5

รณรงค์เรื่องโรคเอดส์ในวันปีใหม่ (30 ธ. ค.54)

รณรงค์เรื่องโรคเอดส์ในวันวาเลนไทน์ (14 ก. พ.55)

สำรวจแหล่งสถานบริการในเดือน ม. ค

วิทยากรสอนในเรื่อง STIS

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล / คลินิกกามโรคโรงพยาบาลปัตตานี รพสต. บานา NGO : รักษ์ไทย และสมาคมวางแผนครอบครัว เครือข่ายเอกชน : สมาคมประมง หน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน / องค์กรที่สนับสนุนการให้บริการ

รูปแบบการบริการสุขภาพที่เอื้อต่อการเข้าถึงบริการในโรงพยาบาล จัดบริการช่องทางด่วน ป้ายประชาสัมพันธ์ มีล่ามต่างด้าว 2 คน ( พม่า / กัมพูชา ) มีระบบการส่งต่อ ผลการดำเนินงาน

จำนวน / ราย กลุ่มเป้าหมาย รับการ ปรึกษา ทั้งหมด รับการ ปรึกษา แต่ ไม่ตรวจ เลือด รับการปรึกษา และ ตรวจเลือด ผลการตรวจเลือด ผลบวกผลลบ ชา ย หญิ ง ชายหญิงชายหญิงชายหญิง 1. กลุ่มแรงงานต่าง ด้าว สัญชาติลาว สัญชาติกัมพูชา สัญชาติพม่า สัญชาติมอญ กลุ่มหญิงบริการ รวมทั้งสิ้น ข้อมูลผู้รับบริการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี (ตุลาคม54 - กันยายน55) ผลการดำเนินงาน ( ต่อ )

ก1ก1 ราย - หนองใน 27 - หนองในเทียม 10 - ซิฟิลิส 0 - แผลริมอ่อน 2 - ผีมะม่วง 0 - พยาธิช่องคลอด 0 รวม 39 STIs อื่นๆ 27 รวมทั้งสิ้น 66

เดิมใหม่  ส่ง PT พบอายุรแพทย์วันไหนก็ได้  นัดเจาะเลือด CD4 วันอังคารก่อน น  หลังจากได้ผลตรวจต้องพบอายุรแพทย์เพื่อ ส่งต่อคลินิกนภา  ส่งต่อคลินิกนภา  ส่ง PT พบอายุรแพทย์วันอังคารเช้า  ส่งเจาะในวันนั้นก่อน น  ส่งคลินิกนภาจันทร์บ่าย ลดขั้นตอนการส่งต่อการรักษาในผู้ป่วยติดเชื้อในหญิงบริการ ใช้เวลา 4 วันใช้เวลา 2 วัน

การส่งเสริมการเข้าถึงการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่ม ประชากรเคลื่อนย้ายและเข้าถึงยากช่วยค้นหาผู้ติดเชื้อรายใหม่ และเข้าถึงการ รักษาได้เร็วขึ้น การพัฒนางานการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ จะต้องอาศัยความร่วมมือ กันขององค์กรต่างๆ / เครือข่ายในพื้นที่ การประชาสัมพันธ์อย่างแพร่หลายและทั่วถึงช่วยเพิ่มโอกาสในการเข้าถึง บริการของประชาชนได้เพิ่มขึ้น มีการนำอุปสรรคจากการทำงานมาพัฒนา (CQI) นำผลที่ได้มาปรับปรุงงานทั้ง ระบบ บทเรียนที่ได้จากการทำงาน

การทำงานในเชิงรุกในกลุ่มลุกเรือประมงพบว่ากลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ให้ ความร่วมมือและเจ้าของเรือไม่เห็นความสำคัญในการเจาะ VCT หากมีการ ร่วมมือของฝ่ายปกครองส่วนท้องถิ่นเช่นจัดประชุมผู้ประกอบการให้ให้ความ ร่วมมือกับโรงพยาบาลจะทำให้งานง่ายขึ้น ปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบมีผลต่อการทำงาน งบสนันสนุนไม่เพียงพอโดยเฉพาะช่วง sentinel แผนงานบริการเชิงรุกในพื้นที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนตลอดเวลาตาม กลุ่มเป้าหมาย บางครั้งต้องออกทำงานในช่วงกลางคืน ปัญหา / อุปสรรค

ขยายโครงการให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่เข้าถึงยากอื่นๆ จัดบริการให้การปรึกษาทางโทรศัพท์ (Hotline) เพื่อให้ผู้รับบริการมีทางเลือก เพิ่มขึ้น พัฒนา web site ของกลุ่มตานีสีรุ้ง (MSM) เพื่อประสานงานได้สะดวกมากขึ้น พัฒนาข้อมูล Rihis ให้มีประสิทธิภาพโดยรวมข้อมูลในโรงพยาบาลและคลินิก กามโรคให้เป็น หนึ่งเดียว แผนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

MPVCT โรงพยาบาลปัตตานี ทุกข์ตรงไหน วางตรงนั้น ทำหน้าที่ด้วยใจสบาย