การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
กลุ่มปลาดาว.
การศึกษารายกรณี.
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การให้บริการส่งยาสำหรับ ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังทางไปรษณีย์
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
เล่าเรื่องที่ประทับใจ
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
คุณภาพชีวิตผู้ป่วยเอช ไอ วี กับการดูแล แบบครบวงจร
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ใกล้ไกล... ไปเป็นคู่ นายดุรากร จิตรดร เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน คลินิกพิเศษ โรงพยาบาลโพนพิสัย.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัจจุบันสามารถลงข้อมูลได้ทั้ง Off-line และ On-line เริ่ม 14 มีนาคม 54 แต่ต้องส่งจาก offline ออกสู่อินเตอร์เน็ตก่อน หลังจากนั้นขอใช้เป็นตัว online ไปเลย.
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์ ตั้งแต่อดีตจนถึง....ปัจจุบัน ทีมงานประจำคลินิกยาต้านไวรัสศูนย์สุขใจ โรงพยาบาลจุน อ.จุน จ.พะเยา

ระบบเดิม....ปัญหาที่พบจากเจ้าหน้าที่ CLINIC ARV ไม่มีการจัดตั้งระบบคลินิกที่ชัดเจน ขาดแพทย์ ไม่มีแพทย์ลงมาตรวจประจำที่คลินิก ตรวจโดยพยาบาล รายที่พบปัญหาส่งพบแพทย์ที่ OPD ผู้ป่วยยังไม่เข้าถึงบริการ จะมาก็ต่อเมื่อ ป่วยหนัก ,มี OI ,TB ผู้ป่วยไปทำงานต่างถิ่น ไม่สามารถมารับบริการต่อเนื่องได้ ให้ญาติมารับยาแทน,ให้อาสาสมัครส่งไปทางไปรษณีย์ ขาดการติดตามผู้ป่วย ที่ไม่มารับการตรวจตามนัด จัดยาล่วงหน้า จ่ายยาโดยเจ้าหน้าที่ศูนย์ ผู้ป่วยมีภาวะดื้อยา กินยาแล้วมีผลข้างเคียง เพิ่มขึ้น

ระบบเดิม......ปัญหาในมุมมองของแพทย์ ผู้ป่วยที่มาพบแพทย์ที่ ER,OPD มี OI,TB Multiple infection ไม่ได้ on ARV ไม่ได้ on prophylaxis ไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ขาดยา เวชระเบียนหาข้อมูลยากไม่ครบ

วิเคราะห์ปัญหา ด้านผู้ป่วย ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค ขาดความตระหนักในการรักษาและโรค ไม่ยอมรับ มีปัญหาในการเข้าสังคม

วิธีแก้ปัญหา มองหากลุ่มเป้าหมาย ประสานกับสถานีอนามัย เข้าไปประสานสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมาย ให้ความรู้ต้องพึ่งความสัมพันธ์ที่ดี และนำพาเข้าสู่ระบบการรักษาต่อไป ประสานกลับมายัง รพ.จุน รพ.จุนต้อนรับกลุ่มผู้ป่วยใหม่ และให้การรักษาต่อไป หาทางรณรงค์ให้เกิดการตื่นตัวด้านความรู้ของ HIV

วิเคราะห์ปัญหา ด้านการให้บริการ เจ้าหน้าที่มีน้อยแต่ปริมาณงานมาก ไม่สามารถให้การตรวจร่างกายให้กับทุกคน ตรวจหาความผิดปกติ OI ได้ไม่ดีพอ ขาดระบบการติดตามผู้ป่วยขาดการรักษา ที่ชัดเจน

วิธีการแก้ปัญหา หาทีมงานอิสระที่สมัครใจเพื่องานอาสาเพิ่ม จากกลุ่มสมาชิก และหาแรงจูงใจในการเข้า มาร่วมงาน ออกแบบการสอบถาม และตรวจร่างกายเบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่ สร้างทีมงานในการติดตามผู้ป่วยอย่างชัดเจน สถานีอนามัย อาสาสมัคร สอนให้ผู้ป่วยมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อฉวยโอกาส และทราบอาการของตนเองที่ สัมพันธ์กับโรค จัดบอร์ด และนำเสนอทีละ 1 โรค ให้ฟังช่วงกิจกรรมเข้ากลุ่มตอนเช้า ทำแผ่นพับ แผนภาพ

ปัญหาด้านเวชระเบียน มีข้อมูลไม่ครบ หาข้อมูลลำบาก ข้อมูลใน OPD กระจายกัน ทราบปัญหาจากแพทย์ที่ปฏิบัติงานทั้งในคลินิกและนอกคลินิก

วิธีการแก้ปัญหา ออกแบบฟอร์มสรุปประวัติ ใหม่ ให้มีข้อมูลสำคัญดังนี้ Review ประวัติผู้ป่วยทุกรายใหม่ โดยเปิดตั้งแต่หน้าแรกจนถึงหน้าสุดท้าย ออกแบบฟอร์มสรุปประวัติ ใหม่ ให้มีข้อมูลสำคัญดังนี้ วินิจฉัยครั้งแรก ครั้งแรกที่ตรวจเพราะอะไร CD4 เริ่มแรก ประวัติโรคติดเชื้อฉวยโอกาส ประวัติการรับยาต้านไวรัส ประวัติการรับยาป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส ผล lab ทุก 6 เดือน 12 เดือน

แบบฟอร์มเพื่อลงข้อมูลผู้ป่วย เก็บไว้ใน OPD Card

ระบบใหม่ เริ่มตั้งแต่ปี 2554 - ปัจจุบัน มีรูปแบบคลินิกที่ชัดเจนรับยาต้านไวรัสทุกวันพุธ มีแพทย์ลงมาตรวจประจำที่คลินิก มีเภสัชกรประจำคลินิก จ่ายยาและให้คำแนะนำ มีกำหนดวันเจาะเลือดทุกวันพฤหัสบดีที่ 1 และ 3 ของทุกเดือน มีระบบการติดตามผู้ป่วยที่ขาดยา โดยเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ และ กลุ่มสมาชิก มีระบบการเยี่ยมบ้านในรายที่พบปัญหาและต้องการดูแลใกล้ชิด ปรับปรุงแฟ้มเวชระเบียนให้มีข้อมูลชัดเจนเพื่อสะดวกในการตรวจรักษาของ แพทย์

เจ้าหน้าที่คลินิกยาต้านไวรัสศูนย์สุขใจโรงพยาบาลจุน แพทย์ แพทย์หญิงวิจิตรา ใจแก้ว เภสัชกร เภสัชกรประภาพร คำเหมือง พยาบาล 1. นางดารา แสงเพชร 2. นางนิศากรณ์ ผลาโชติ เจ้าหน้าที่ศูนย์ 1. นางลาวี ปิจดี 2. นางพิราภรณ์ จันธิมา 3. นางแอนนา ชัยเมืองแก้ว