การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
Advertisements

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Group Learning HIVQUAL-T Forum
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ รพศ. ขนาด 562 เตียง.
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ไข้เลือดออก.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
เป็นการสร้างช่องทางการ สื่อสารด้วยแผ่นภาพที่อาศัย รูปภาพใบหน้าในลักษณะ ต่างๆ พร้อมตัวหนังสือตัว โตๆที่มีสีสันสะดุดตา ทำให้ ผู้อ่านเข้าใจง่ายเมื่อพบเห็น.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สาขาโรคมะเร็ง.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ Infrastructure Group Learning

โรงพยาบาลแม่ลาว ประชากร : 33,763 8,986 ครอบครัว 5 ตำบล 64 หมู่

ข้อมูลโรงพยาบาลแม่ลาว รพ.ชุมชน 30 เตียง –9 Primary care units แพทย์ 2 คน ทันตแพทย์ 2 คน พยาบาลวิชาชีพ 44 คน จนท. อื่น 143

ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ สะสม 1,170 ราย –ผู้ติดเชื้อที่มีชีวิตอยู่ 448 ผู้ติดเชื้อไม่มีอาการ 107 ผู้ติดเชื้อมีอาการ 9 ผู้ป่วยเอดส์ 332 ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ที่เข้าสู่ระบบ ของการ ดูแล รพ. แม่ลาว 270 -ผู้ติดเชื้อที่เปิดเผยตัว 250 -ผู้ติดเชื้อที่ไม่เปิดเผย 20 ข้อมูลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( ) PLHAs received treatment in the hospital ข้อมูล ณ. ก. ย. 2551

ความเป็นมาในการคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ เข้าร่วมอบรม HIVQUAL –T Model เมื่อ 23 ธ.ค. 2546

นำโปรมแกรม HIVQUAL-T ประเมินการทำงาน ปี 2545 และ 2546

นำเสนอผลการวัดต่อทีมงาน นำเสนอผลการประเมิน เสนอต่อทีมสหวิชาชีพ และผู้อำนวยการ โรงพยาบาล ร่วมวางแผนกิจกรรม พัฒนาคุณภาพ ปัจจัยในการเลือก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ อะไรที่ สามารถ ทำได้ทันที/ ทีมพร้อม / งบประมาณไม่มาก รพ.ทำเองไม่ต้องพึ่งงบที่ไหน

อะไร? ทำให้เราเลือกทำการคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกเป็นกิจกรรมพัฒนา คุณภาพ ผลการประเมินจาก HIVQUAL-T สะท้อน การ ดูแลหญิงติดเชื้อที่ผ่านมาที่ยังไม่ได้ทำกิจกรรมนี้ การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกไม่ใช่เรื่องใหม่ –พบว่า อัตรา Squamous intraepithelial lesion (SIL) สูงขึ้น 33-45% ในหญิงติดเชื้อ เทียบกับ 7-14 % ในหญิงไม่ติด เชื้อ (MMWR 2002;517 (RR-6):59) มีความพร้อมของทีมการคัดกรอง ผู้อำนวยการสนับสนุนใช้งบประมาณโรงพยาบาล

รูปแบบการทำกิจกรรมพัฒนา คุณภาพครั้งแรก เป็นรูปแบบที่ไม่เป็นทางการ ประสานขอความร่วมมือโดยอาศัย สัมพันธภาพส่วนตัวกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเช่น OPD, งานชันสูตร ข้อดี: -สามารถเริ่มดำเนินการได้ ทันที -มีทีมงานที่มีประสิทธิภาพ -สามารถปรับเปลี่ยนแผนการ ดำเนินงานได้ง่าย

ขั้นตอนการทำการพัฒนาคุณภาพ 1.ลงทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย(list รายชื่อจากฐานข้อมูล) เพื่อจะได้ทราบจำนวนกลุ่มเป้าหมายเพื่อติดตามการมา ตรวจคัดกรอง 2.กำหนดวันคัดกรอง 3.ประชาสัมพันธ์แก่กลุ่มผู้ติดเชื้อ (ARV Clinic, Csg, DDC) นัดกลุ่มเป้าหมาย 4.ชี้แจงวัตถุประสงค์และให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้รับการคัดกรอง (ที่ Day Dare Center,วันคัดกรอง) 5.ดำเนินการตรวจคัดกรอง(OPD) 6.นัดฟังผลการตรวจ 7.ติดตามในรายที่มีผลผิดปกติ และส่งต่อเพื่อทำการรักษา 8.เยี่ยมบ้าน 9.รวบรวมข้อมูล( Log book )

ขั้นตอนการทำการพัฒนาคุณภาพ ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้

หญิงติดเชื้อ HIV ยินยอม Pap smear ไม่ยินยอม Pap smear ให้การปรึกษาตาม สภาพปัญหา Follow up ไม่มาตามนัด -ติดตามโดยเครือข่าย -ติดตามคลินิก ARV, Csg, DCC มาตามนัด -ลงทะเบียน, ซักประวัติ -คัดกรอง ห้อง PV ที่ OPD -นัดฟังผล (ที่บ้าน) ผลปกติ -แนะนำตรวจซ้ำทุก 1 ปี รวบรวมข้อมูล, วิเคราะห์ข้อมูล, พัฒนางาน ผลผิดปกติ - ตรวจซ้ำ, ส่งต่อ - ติดตามผลการรักษา Flowc hart

ผลการประเมิน HIVQUAL-T หลังกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

ผลการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ( )

ชนิดของความผิดปกติที่พบ

ตัวชี้วัดเป้าห มา ย ร้อยละของหญิงติดเชื้อ HIV ที่ได้รับการคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก อย่างน้อย 1 ครั้ง / ปี ร้อยละของหญิงติดเชื้อ HIV ที่ได้รับการตรวจ แล้วมีผลการตรวจ ผิดปกติ -NA (5) (7) (15 ) 5.3 (6) 3.4 (4) 3. ร้อยละของหญิงติดเชื้อ HIV ที่มีผลการตรวจ ผิดปกติได้รับการดูแล รักษา ตามมาตรฐาน ( ส่ง ต่อ ) 90NA 10 0 (5) 10 0 (7) 10 0 (15 ) 83 (5) 10 0 (4) 4. จำนวนที่พบผู้ที่ได้รับ การวินิจฉัยเป็นมะเร็ง ปากมดลูก -NA ผลการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

อะไรที่ทำให้เรายังไม่สามารถเพิ่ม ระดับตัวชี้วัดให้สูงขึ้นได้ หญิงติดเชื้อที่ FU ทุก 6 เดือน (กลุ่มที่CD4 สูงอยู่ต่างจังหวัด) ความตระหนักในการมารับการตรวจตามนัด ของผู้รับบริการ ภาระงานในคลินิกทำให้ จนท.ละเลยที่จะ ติดตามในบางครั้งซึ่งอาจตรงกับผู้ป่วยที่รับ ยาครั้งละ2-3 เดือนมาใช้บริการ

สิ่งที่ได้เรียนรู้ การให้บริการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกทำให้หญิงติดเชื้อมี โอกาสเข้าถึงบริการตรวจมากขึ้น เดิมมีช่องทางการเข้าถึงบริการแต่ยังติดเรื่องความเข้าใจ ของผู้ที่ร่วมใช้บริการในครั้งนั้น ความสุขของทีมให้บริการที่สามารถค้นหาผู้ป่วยผลผิดปกติ ในระยะแรกและผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ดีและรอดชีวิตจาก มะเร็งปากมดลูก การมีส่วนร่วมของทีมงานและการประสานการทำงานอย่าง เป็นระบบ ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการคัดกรองมากขึ้น การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อได้เร็วเท่าไหร่จะ ช่วยทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาได้เพิ่มมากขึ้น