Group Learning HIVQUAL-T Forum

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ รพศ. ขนาด 562 เตียง.
HIVQUAL-T (Thai) Version 5.0 Nov 18, 2008 สุชิน จันทร์วิเมลือง ศูนย์ความร่วมมือด้านสาธารณสุขไทย - สหรัฐ.
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปี2554 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สาขาโรคมะเร็ง.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Group Learning HIVQUAL-T Forum โรงแรมภูแก้วรีสอร์ท อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์

โรงพยาบาลวิเชียรบุรี อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์

จำนวนผู้ป่วยเอดส์ทั้งหมดในการดูแล จำนวนผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด 178 ราย จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัส 136 ราย แบ่งเป็น Nap program 1. สิทธิหลักประกันสุขภาพ 123 ราย 2. สิทธิประกันสังคม 3 ราย 3. ผู้ป่วยเด็ก 6 ราย Napha extension 1. สิทธิประกันสังคม 2 ราย 2. สิทธิข้าราชการ 1 ราย 3. ต่างด้าวที่มีหลักประกันสุขภาพ 1 ราย

ผลการวัดด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T ปี 49-50 แยกตามตัวชี้วัด ลำดับ ตังชี้วัด ปี 2549 ปี 2550 จำนวนผู้ป่วยในช่วงการประเมิน 41 212 80 136 1. ผู้ป่วยที่ตรวจ CD4 อย่างน้อย 1 ครั้ง 28 68.3 72 90 ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านและได้ตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้ง 1 1.6 2. ผู้ป่วยได้รับยาป้องกันโรคปอดอักเสบ 12 100 32 ผู้ป่วยได้รับยาป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ 6 16 3. ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์รับยา ได้รับยา ARV 60 30 78.9 ผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับยา ARV 21 51.2 61 76.3

ผลการวัดด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T ปี 49-50 แยกตามตัวชี้วัด ลำดับ ตังชี้วัด ปี 2549 ปี 2550 ผู้ป่วยได้รับยาอย่างสม่ำเสมอ 20 95.2 61 100 ผู้ป่วยที่ได้รับการติดตาม Adherence ทุกครั้ง 19 90.5 4. ผู้ป่วยที่มีประวัติ / กำลังรักษา TB 10 24.4 11 13.8 ผู้ป่วยที่ได้รับการคัดกรองวัณโรค 21 67.7 68 98.6 5. ผู้ป่วยได้รับข้อมูล/คำปรึกษาเรื่อง safe sex 33 80.5 80 6. ผู้ป่วยที่เคยได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิส 51.2

ผลการวัดด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T ปี 49-50 แยกตามตัวชี้วัด ลำดับ ตังชี้วัด ปี 2549 ปี 2550 7. ผู้หญิงที่ได้รับการตรวจ pap smear screening 1 3.2 ผู้หญิงที่ผลตรวจ pap smear ผิดปกติและได้รับการติดตามอย่างเหมาะสม

การติดตาม CD4

การติดตาม VL

การให้ยาต้านไวรัส

การให้ยาต้านไวรัส - กินยาสม่ำเสมอ

การคัดกรองวัณโรค

การป้องกันการแพร่เชื้อ

การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ( ซิฟิลิส )

การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ

แผนการปรับปรุงคุณภาพด้วย Quality improvement Project ลำดับ ชื่อโรงพยาบาล ประเทการเข้าร่วมโครงการ ชื่อโครงการ QI ตัวชี้วัด งบประมาณที่ใช้ แหล่งงบประมาณ 1. รพ.วิเชียรบุรี อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ โรงพยาบาลนำร่อง ( ครู ก.) โครงการปรับปรุงคุณภาพของการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในผู้ป่วยหญิงที่ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ในโรงพยาบาลวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ 1.ร้อยละผู้ติดเชื้อ/ ผู้ป่วยเอดส์ได้รับ การตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งไม่ต่ำกว่า 70% 2. ร้อยละ 100 ของ ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วย เอดส์ที่มีผลการ ตรวจคัดกรองมะเร็ง ปาดมดลูกผิดปกติ ได้รับการดูแลรักษา ตามมาตรฐาน 15,000 สคร.9

ผลลัพธ์ที่ได้จริง ( Outcome ) ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์เพศหญิงที่มารับบริการที่โรงพยาบาลวิเชียรบุรีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2550 – 31 พฤษภาคม 2551 มีจำนวนทั้งสิ้น 48 ราย 2. ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ที่มีผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกผิดปกติ มีจำนวน 3 ราย ได้รับการรักษาตามมาตรฐานทั้ง 3 ราย

ผลการดำเนินโครงการ Quality improvement Project ผลการประเมินการทำงานขององค์กรด้านคุณภาพ ( Organizational Assessment Tool ) โครงสร้างด้านคุณภาพ คะแนนเฉลี่ย 3.75 การวางแผนด้านคุณภาพ คะแนนเฉลี่ย 4.66 การวัดคุณภาพของการทำงาน คะแนนเฉลี่ย 4.5 กิจกรรมการปรับปรุงคุณภาพ คะแนนเฉลี่ย 4.33 การมีส่วนร่วมของบุคลากร คะแนนเฉลี่ย 4.33 การประเมินผลงานด้านคุณภาพ คะแนนเฉลี่ย 4.5 คะแนนเฉลี่ยรวม 4.34 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการ การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ที่มารับบริการในโรงพยาบาลวิเชียรบุรี ตามตัวชี้วัด 2. ปรับปรุงกระบวนการทำงานเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ 3. ปรับปรุงบริการด้านคลินิกตรวจภายใน สำหรับผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ที่มารับบริการ

Best Practice ที่ได้รับจากโครงการ QI ระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์เพศหญิง ที่มารับบริการ โรงพยาบาลวิเชียรบุรี ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ เพศหญิง รพ.เพชรบูรณ์ ผลตรวจผิดปกติ ARV clinic สูตินารีแพทย์ Pap smear ศูนย์มะเร็ง จ.ลพบุรี

ข้อเสนอแนะ / ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน รูปแบบการให้บริการตรวจภายในเดิม ไม่สอดคล้องกับการมารับบริการสำหรับผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์