การประชุมสัมมนา “การประเมินผลองค์การมหาชนตามคำรับรองการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554” 29 กรกฎาคม 2553.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมสัมมนา “การประเมินผลองค์การมหาชนตามคำรับรองการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554” 29 กรกฎาคม 2553

แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติงาน และการประเมินผลองค์การมหาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติงานและการประเมินผลองค์การมหาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ความเป็นมา คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2547 เห็นชอบกับแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานและการประเมินผลองค์การมหาชน เพื่อพิสูจน์ความมีประสิทธิภาพและความคุ้มค่าขององค์การมหาชน โดยให้องค์การมหาชนทุกแห่งเสนอแผนยุทธศาสตร์ต่อคณะรัฐมนตรีและลงนามในคำรับรองการปฏิบัติงาน เมื่อองค์การมหาชนดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติงานแล้ว 1 ปี จะมีการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติงาน

16 17 18 19 21 22 29 จำนวนองค์การมหาชนที่เข้าสู่ระบบประเมินผล (แห่ง) ปี 2548* 16 17 18 19 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 21 22 29 *ปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 เป็นปีแรกที่องค์การมหาชนเข้าสู่ระบบประเมินผล

หลักการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติงานขององค์การมหาชน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ หลักการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติงานขององค์การมหาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 องค์การมหาชนเสนอร่างตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดตามคำรับรองรับรองการปฏิบัติงานขององค์การมหาชนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการองค์การมหาชน อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาองค์การมหาชนฯ และผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการแต่งตั้งจาก ก.พ.ร. เป็นคณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผลขององค์การมหาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มีอำนาจหน้าที่ พิจารณาความเหมาะสมของร่างตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดตามคำรับรองรับรองการปฏิบัติงานที่องค์การมหาชนเสนอ และเจรจากับประธานกรรมการองค์การมหาชนหรือผู้แทน

ร่างกรอบการประเมินผลองค์การมหาชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ร่างกรอบการประเมินผลองค์การมหาชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มิติการประเมินผล มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ของการปฏิบัติงาน มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ มิติที่ 4 ด้านการกำกับดูแลกิจการ และพัฒนาองค์การ น้ำหนักร้อยละ A น้ำหนักร้อยละ B น้ำหนักร้อยละ C น้ำหนักร้อยละ 20+D A, B, C, D หมายถึง น้ำหนักที่เกิดจากการเจรจาข้อตกลงฯ ระหว่างคณะกรรมการเจรจาฯ และองค์การมหาชนในมิติที่ 1, 2, 3, 4 2) ต้องกำหนดให้มิติที่ 1 มีน้ำหนักมากที่สุด รวมทั้งกำหนดให้มิติที่ 1 และมิติที่ 3 มีน้ำหนักมากกว่ามิติอื่น เนื่องจากต้องการมุ่งเน้นที่ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานเป็นหลัก

ร่างกรอบการประเมินผลองค์การมหาชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ร่างกรอบการประเมินผลองค์การมหาชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ร่างกรอบปี 2554 กรอบปี 2553 มิติที่ 1: ด้านประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน มิติที่ 1 : ด้านประสิทธิผล ของการปฏิบัติงาน มิติที่ 2 : ด้าน คุณภาพ การให้ บริการ มิติที่ 2: ด้านคุณภาพการให้บริการ มิติที่ 3: ด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติงาน มิติที่ 3 : ด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติงาน มิติที่ 4 : ด้านการกำกับดูแลกิจการ และพัฒนาองค์การ ใช้ตัวชี้วัดเดิมของปี 2553 เป็นหลัก สำหรับองค์การมหาชนที่ต้องดำเนินการตามมติ ครม. เมื่อ 18 ส.ค. 52 การกำหนดตัวชี้วัดต้องครอบคลุมถึง ข้อเสนอตามมติ ครม. ดังกล่าวด้วย คงตัวชี้วัดร่วม “ระดับการพัฒนาด้านการกำกับดูแลกิจการและการพัฒนาองค์การ” โดยลดประเด็นตัวชี้วัดเหลือ 20 ตัวชี้วัด (จากเดิม 51) มิติที่ 4: ด้านการกำกับดูแลกิจการและพัฒนาองค์การ

ร่างกรอบการประเมินผลขององค์การมหาชน ปี 2554 มิติด้านประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน กำหนดประเมินและสะท้อนความสำเร็จของการปฏิบัติงานให้ได้ ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งและ อำนาจหน้าที่ขององค์การมหาชนที่กำหนดในกฎหมาย รวมทั้งพันธกิจที่องค์การมหาชนได้รับมอบหมายเพิ่มเติม จากรัฐบาล เน้นวัดผลสำเร็จทั้งด้านผลผลิตและผลลัพธ์ องค์การมหาชนเสนอตัวชี้วัดและวิธีการวัด ตัวชี้วัดและน้ำหนักขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์การจัดตั้งและอำนาจหน้าที่ซึ่งระบุไว้ในกฎหมายจัดตั้ง น้ำหนักร้อยละ A มีน้ำหนักมากที่สุด มิติที่ 1

ร่างกรอบการประเมินผลขององค์การมหาชน ปี 2554 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ กำหนดประเมินและสะท้อนความสำเร็จในการตอบสนอง ต่อความคาดหวังและความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียหลัก ได้แก่ รัฐบาล ผู้มีส่วนได้เสียทางตรง ได้แก่ ผู้ใช้บริการหลัก ผู้ได้รับผลกระทบทางตรงจากการปฏิบัติงานขององค์การมหาชน องค์การมหาชนเสนอตัวชี้วัดและวิธีการวัด ที่สะท้อนถึง ความพึงพอใจของผู้รับบริการขององค์การมหาชน ความสำเร็จขององค์การมหาชนที่สามารถตอบสนองต่อผู้มีส่วน ได้เสียในด้านวัตถุประสงค์การจัดตั้งองค์กร และการปฏิบัติงาน ได้ตามที่ผู้มีส่วนได้เสียคาดหวัง น้ำหนักร้อยละ B เงื่อนไข : น้ำหนักของ B ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 มิติที่ 2

ร่างกรอบการประเมินผลขององค์การมหาชน ปี 2554 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน ประเมินและสะท้อนผลสำเร็จ การปฏิบัติงานทางการเงิน เนื่องจากองค์การมหาชนเป็นหน่วยงาน ที่ได้รับงบประมาณ เพื่อให้บริการที่ไม่แสวงหารายได้สูงสุด จึงมุ่งเน้นวัดความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในการบริหาร และใช้งบประมาณรวมถึงทรัพยากรทางการเงินอื่น ให้สร้างผลผลิตและผลลัพธ์สูงสุด การปรับปรุงและพัฒนากระบวนการภายใน โดยมุ่งพิจารณากระบวนการภายในที่จะช่วยนำเสนอคุณค่าให้ผู้ใช้บริการหรือ กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลักขององค์กรพึงพอใจ องค์การมหาชนเสนอตัวชี้วัดและวิธีการวัด ที่สะท้อนถึง ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในการบริหาร การใช้งบประมาณ หรือความคุ้มค่าทางสังคม (Social Benefit) การปรับปรุงและพัฒนากระบวนการภายใน น้ำหนักร้อยละ C เงื่อนไข : น้ำหนักของ C ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 มิติที่ 3

ร่างกรอบการประเมินผลขององค์การมหาชน ปี 2554 มิติด้านการกำกับดูแลกิจการและการพัฒนาองค์การ กำหนดประเมินและสะท้อนผลการปฏิบัติงานที่แสดงความสามารถ ในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลและการกำกับดูแลตนเองที่ดี รวมถึงความสามารถในการก้าวสู่อนาคต หรือการเตรียมพร้อมบริหาร การเปลี่ยนแปลง ตัวชี้วัดร่วม บทบาทและการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการและการพัฒนาตนเองของคณะกรรมการ : น้ำหนักร้อยละ 20 (ใช้เกณฑ์ประเมินที่ ก.พ.ร. กำหนด) ตัวชี้วัดเลือก การเรียนรู้และพัฒนาองค์การ : น้ำหนักร้อยละ D (ให้องค์การมหาชนเสนอตัวชี้วัดและวิธีการวัด) น้ำหนักรวมร้อยละ 20 + D มิติที่ 4

ตัวชี้วัดร่วม : ระดับการพัฒนาด้านการกำกับดูแลกิจการและการพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ.2554 1. บทบาทและการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ 1.1 คณะกรรมการให้ความเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์ใหม่หรือทบทวนแผนยุทธศาสตร์เดิมภายในเวลาที่กำหนด 1.2 บทบาทของคณะกรรมการในการติดตามและทบทวนความเพียงพอของระบบการบริหารจัดการองค์การมหาชนที่สำคัญอย่างน้อยเป็นรายไตรมาส 1.2.1 มีการรายงานผลของระบบการควบคุมภายใน 1.2.2 มีการรายงานผลของการตรวจสอบภายใน 1.2.3 มีการรายงานผลของระบบการบริหารความเสี่ยง 1.2.4 มีการรายงานผลของระบบการบริหารจัดการสารสนเทศ 1.2.5 มีการรายงานผลของระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล 1.3 การดูแลติดตามผลการดำเนินงานทั้งในด้านการเงินและไม่ใช่การเงินอย่างสม่ำเสมอ 1.3.1 คุณภาพของรายงานด้านการเงิน 1.3.2 คุณภาพของรายงานด้านภารกิจหลัก 1.3.3 มีการส่งรายงานผลการดำเนินงานด้านการเงินและไม่ใช่การเงินอย่างน้อยรายไตรมาสแก่รัฐมนตรีที่กำกับดูแลองค์การมหาชน 1.4 บทบาทของคณะกรรมการในการกำกับให้มีการประเมินผลงานผู้บริหารระดับสูง มีการกำกับให้มีการประเมินผลงานผู้บริหารระดับสูง (รองจากผู้บริหารสูงสุด 2 ระดับ) 1.5 การประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการ การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการ 1.6 การเปิดเผยข้อมูลและสารสนเทศที่สำคัญต่อองค์การมหาชนในรายงานประจำปีงบประมาณ ทั้งในด้านการเงินและไม่ใช่การเงินอย่างถูกต้องเชื่อถือได้ 1.6.1 มีการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ด้านการเงินและไม่ใช่การเงิน 16.2 การเปิดเผยงบการเงิน ประกอบด้วย งบดุล งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน 1.6.3 การเปิดเผยประวัติของคณะกรรมการ ประกอบด้วย อายุ วุฒิการศึกษา ประวัติการทำงาน และตำแหน่งหน้าที่ในปัจจุบัน 1.6.4 การเปิดเผยการเข้าประชุมของคณะกรรมการ 1.6.5 การเปิดเผยโครงสร้างคณะกรรมการและอนุกรรมการ 1.6.6 การเปิดเผยพันธกิจ แผนการปฏิบัติงาน และกลยุทธ์ 1.6.7 การเปิดเผยข้อมูลที่สำคัญขององค์การในเว็บไซต์ขององค์การมหาชน 2. การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการ 2.1 มีการเปิดเผยผลการประเมินตนเองแก่คณะกรรมการในที่ประชุมอย่างเป็นทางการโดยคณะกรรมการร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลประเมิน และกำหนดแนวทางปฏิบัติ  2.2 มีการจัดให้มีกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของคณะกรรมการ 80 20 15 (3) 10 (4) (2) (10)

หลักการจัดทำคำรับรองฯ 2554 (ต่อ) หลักการจัดทำคำรับรองฯ 2554 (ต่อ) กรณีองค์การมหาชนที่มีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (22 แห่ง) 1. องค์การมหาชนที่ไม่ได้รับนโยบายพิเศษเพิ่มขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ให้นำตัวชี้วัดที่กำหนดไว้เดิมในคำรับรองการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 มาเป็นตัวชี้วัดในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 องค์การมหาชนเสนอค่าเป้าหมายใหม่ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนระดับ 3 ไว้เท่ากับผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ยกเว้นตัวชี้วัดตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Milestone) ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม คงช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด (interval) ไว้เท่ากับปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้า ประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี 2554 ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน 2551 2552 2553 1 2 3 4 5 ตามแผนยุทธศาสตร์หรือ แผนปฏิบัติงานประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 คงเดิม (ปี 53) PO เสนอ 3 = ผลงานปี 53 interval = ปี 53

หลักการจัดทำคำรับรองฯ 2554 (ต่อ) กรณีองค์การมหาชนที่มีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (22 แห่ง) กรณีที่องค์การมหาชนมีการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ หรือได้รับนโยบายพิเศษจาก รัฐบาล สามารถเสนอตัวชี้วัดพร้อมค่าเป้าหมาย น้ำหนัก และเกณฑ์การให้คะแนน เพิ่มเติมได้ องค์การมหาชนซึ่งจะต้องดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2552 เรื่อง สรุปผลการประเมินองค์การมหาชนตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2552 การกำหนดตัวชี้วัดต้องครอบคลุมถึงข้อเสนอตามมติ คณะรัฐมนตรีดังกล่าวด้วย ให้เน้นตัวชี้วัดผลลัพธ์มากกว่าผลผลิต ไม่วัดกระบวนงาน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ที่ไม่อาจวัดผลงานได้อย่างเป็นรูปธรรมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ให้องค์การมหาชนวางแผนการทำงาน และทยอยแบ่งวัดความสำเร็จจากความคืบหน้า ของผลการปฏิบัติงานเป็นรายปี

รายละเอียดจากสัญญาจ้างผู้อำนวยการ /องค์การมหาชน เสนอใหม่ หลักการจัดทำคำรับรองฯ 2554 (ต่อ) กรณีองค์การมหาชนที่เริ่มจัดทำคำรับรองการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เป็นปีแรก (7 แห่ง) ตัวชี้วัดความสำเร็จตามคำรับรองการปฏิบัติงานมาจากตัวชี้วัดในสัญญาจ้างผู้อำนวยการองค์การมหาชนเป็นหลัก องค์การมหาชนสามารถเสนอตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย น้ำหนัก และเกณฑ์การให้คะแนนเพิ่มเติมได้ตามจุดเน้นในแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติงานปี 2554 ประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี 2554 ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน 2552 2553 1 2 3 4 5 ตามแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติ งานปี 2554 รายละเอียดจากสัญญาจ้างผู้อำนวยการ /องค์การมหาชน เสนอใหม่ PO เสนอ เนื่องจากองค์การมหาชนในกรณีนี้เพิ่งได้รับการจัดตั้ง ยังไม่สามารถประเมินผลลัพธ์ให้เป็นรูปธรรมได้ชัดเจน องค์การมหาชนจึงควรวางแผนการทำงาน และกำหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์เป็นตัวชี้วัดตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Milestone) ระยะปานกลาง (3 – 5 ปี) เพื่อทยอยแบ่งวัดความสำเร็จจากความคืบหน้าของผลการปฏิบัติงานเป็นรายปี

หลักการจัดทำคำรับรองฯ 2554 (ต่อ) เกณฑ์การให้คะแนนแบ่งเป็น 5 ระดับ ในการเจรจาข้อตกลงและประเมินผล ให้กำหนดค่าเป้าหมายไว้ที่ระดับคะแนน = 3 กำหนดน้ำหนักการประเมินผลในมิติที่ 1 มีน้ำหนักมากที่สุด เนื่องจากต้องการมุ่งเน้นที่ ประสิทธิผลของการบรรลุวัตถุประสงค์การจัดตั้งหน่วยงานเป็นหลัก มิติที่ 2 และ 3 กำหนด น้ำหนักอย่างน้อยที่สุดร้อยละ 10 และมิติที่ 4 มีน้ำหนักอย่างน้อยที่สุดร้อยละ 20 มีตัวชี้วัดร่วมเฉพาะในมิติที่ 4 “ระดับการพัฒนาด้านการกำกับดูแลกิจการและการพัฒนาองค์การ” ระดับ 5 ดีกว่าเป้าหมายมาก ระดับ 4 ดีกว่าเป้าหมาย ระดับ 3 เป็นไปตามเป้าหมาย ระดับ 2 ต่ำกว่าเป้าหมาย ระดับ 1 ต่ำกว่าเป้าหมายมาก

หลักการจัดทำคำรับรองฯ 2554 (ต่อ) กรณีองค์การมหาชนเสนอตัวชี้วัด “ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ” ให้องค์การมหาชนคัดเลือกงานบริการหลัก และกลุ่มเป้าหมายที่จะสำรวจเสนอ คณะกรรมการองค์การมหาชนพิจารณาก่อน และต้องมีหน่วยงานผู้ประเมินอิสระ ภายนอกเป็นผู้สำรวจ กรณีองค์การมหาชนเสนอตัวชี้วัด “ประเมินความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วย ผลผลิต” สามารถใช้หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลของกรมบัญชีกลาง และรายงาน ให้สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบตามที่กำหนดไว้ในพระราช กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 องค์การมหาชนที่ประสงค์จะขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัดในกรณีที่ได้รับ ผลกระทบจากปัจจัยภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้ ไม่ได้รับจัดสรรงบประมาณหรือ ได้รับจัดสรรไม่เพียงพอ และไม่สามารถโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ ให้ชี้แจง เหตุผลไปพร้อมกับรายงานการประเมินผลตนเองรอบ 6 เดือน หรือ 12 เดือน

ขั้นตอนการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 องค์การมหาชนเสนอตัวชี้วัดค่า เป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน ภายใน 20 สิงหาคม 2553/ภายในสิงหาคม สำนักงาน ก.พ.ร. วิเคราะห์ความเหมาะสม 20 สิงหาคม – 6 กันยายน 2553 ไม่ต้องมีการเจรจา สกพร. จัดทำเอกสารคำรับรองฯ อ.ก.พ.ร. พิจารณา เห็นชอบ 20-30 กันยายน 2553 ไม่เห็นชอบ 15-17 กันยายน 2553/ภายในกันยายน จัดให้มีการเจรจา องค์การมหาชน 7 แห่งใหม่ องค์การมหาชนเฉพาะแห่งที่ อ.ก.พ.ร. ไม่เห็นชอบ แนวทางการประชุมเพื่อพิจารณากำหนดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ตามกลไกการเจรจาที่กำหนด โดยแบ่งกลุ่มองค์การมหาชนเป็น 3 กลุ่ม

กลุ่มด้านสังคม/ศึกษา กลุ่มด้านวิทยาศาสตร์ กลุ่มด้านเศรษฐกิจ กลุ่มด้านสังคม/ศึกษา กลุ่มด้านวิทยาศาสตร์ สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและ นิทรรศการ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและ เครื่องประดับแห่งชาติ สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจ กับประเทศเพื่อนบ้าน สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระ เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ โรงพยาบาลบ้านแพ้ว สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการ พัฒนา สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล หอภาพยนตร์ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์แห่งชาติ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐาน ชีวภาพ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและ การเกษตร สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กรรมการเจรจา นายสมพล เกียรติไพบูลย์ นายการุณ กิตติสถาพร นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก นายอัชพร จารุจินดา นางดวงสมร วรฤทธิ์ นางเครือวัลย์ สมณะ นางดนุชา ยินดีพิธ นายกอปร กฤตยากีรณ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายอาวุธ วรรณวงศ์

ร่างปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติงานขององค์การมหาชน และการประเมินผล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ก.ค.53 ส.ค. 53 ก.ย.53 ต.ค.53 ธ.ค.53 ม.ค.54 เม.ย.54 ต.ค.54 พ.ย.54 ม.ค.55 กำหนดกรอบการประเมินผล จัดทำคำรับรองการปฏิบัติงาน ติดตามและประเมินผล อ.ก.พ.ร. พิจารณา ร่างกรอบฯ (12 ก.ค. ) ก.พ.ร. พิจารณา เห็นชอบ (ภายใน ส.ค.) จัดทำแนวทางการประเมินผลฯ จัดประชุม สัมมนา อกพร. – PO (29 ก.ค. ) ภารกิจ PO องค์การมหาชนเสนอตัวชี้วัด, ค่าเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน (ภายใน 20 ส.ค.53) องค์การมหาชน วิเคราะห์ ความถูกต้อง ของราย – ละเอียด ตัวชี้วัด, คำขอ เปลี่ยนแปลง ตัวชี้วัด เสนอ อ.ก.พ.ร.ฯ แจ้ง PO Sector+ ภารกิจ PO SAR 6 เดือน องค์การมหาชน SAR 12 เดือน องค์การมหาชน จัดทำ รายงาน ผลการ ประเมิน ให้ องค์การ มหาชน Sector+ ภารกิจ PO วิเคราะห์ความเหมาะสมของตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนน (20 ส.ต. – 6 ก.ย.53) Sector+ ภารกิจ PO วิเคราะห์ SAR รอบ 12 เดือน ประเมินผล 12 เดือน Sector+ ภารกิจ PO วิเคราะห์ SAR รอบ 6 เดือน Sector+ ภารกิจ PO เจรจาความเหมาะสมของตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติงานฯ 2554 (นอกรอบ) (7 – 14 ก.ย.53) เจรจาความเหมาะสมของตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติงานฯ 2554 (เจรจาจริง) (15 – 17 ก.ย. 53) Sector+ ภารกิจ PO ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารประกอบ คำรับรองฯ และส่งให้ PO เพื่อดำเนินการ ลงนามคำรับรองฯ Sector + ภารกิจ PO จัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI template) องค์การมหาชน

ความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกรอบการประเมินผลองค์การมหาชน 29 กรกฎาคม 2553