การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
Advertisements

การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
10 ลำดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
พยากรณ์การเกิดโรคมาลาเรีย ปี 2555 โดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 15 และ 16.
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
การแจกแจงปกติ.
ไข้เลือดออก.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
โรคที่ต้องควบคุมโรคอย่างเร่งด่วน ประจำเดือนตุลาคม 2549 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2551 Darunee Phosri :
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช

ความสำคัญ

ความสำคัญ อัตราป่วยสูง (ปี 2553 = 279.9 ต่อแสนประชากร) แพร่กระจาย อัตราป่วยสูง (ปี 2553 = 279.9 ต่อแสนประชากร) แพร่กระจาย ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม (พื้นที่แหล่งท่องเที่ยว)

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อคาดการณ์จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556 2. เพื่อบอกปัจจัยเสี่ยง กลุ่มเสี่ยง และพื้นที่เสี่ยง ต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อเสนอแนะแนวทางสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าสาธารณสุข และประชาชนในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

วิธีการศึกษา

วิธีการศึกษา (เชิงคุณภาพ) การพยากรณ์โรคเชิงคุณภาพ (Qualitative Forecasting) จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรวม 3 รหัส รายงาน 506 และ 507 Dengue fever (DF) Dengue hemorrhagic fever (DHF) Dengue shock syndrome (DSS) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา และภูเก็ต ตั้งแต่ พ.ศ.2536 -2554 ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วยรูปแบบการเกิดโรค การกระจายของโรคตามลักษณะบุคคล เวลา และสถานที่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ อัตรา

วิธีการศึกษา (เชิงคุณภาพ) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออก(Risk Assessment) 1) การเกิดโรคซ้ำซาก หมายถึง อัตราป่วยในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา จำนวนปีที่มีอัตราป่วยสูงกว่าค่า Median ของประเทศอย่างน้อย 2 ปี โดยค่า Median ของประเทศในแต่ละปี = Median ของอัตราป่วยชอง 76 จังหวัดรายปี รอบ 5 ปีที่ผ่านมา สูงกว่า Median 5 ปี = 5 สูงกว่า Median 4 ปี = 4 สูงกว่า Median 3 ปี = 3 สูงกว่า Median 2 ปี = 2 สูงกว่า Median 1 ปี = 1 ไม่สูงกว่า Median = 0

วิธีการศึกษา (เชิงคุณภาพ) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออก(Risk Assessment) 2) อัตราป่วยปี 2554 ลดลงต่ำกว่าอัตราป่วยต่ำสุดในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา ถ้าต่ำมากมีโอกาสเกิดการระบาดมาก ต่ำกว่า = 1 สูงกว่า = 0 3) อัตราป่วยปี 2554 สูงกว่า Median ย้อนหลัง 5 ปี ของจังหวัด แสดงว่า ยังมีการระบาดอยู่ปีถัดไปจะมีโอกาสน้อยกว่า

วิธีการศึกษา (เชิงคุณภาพ) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออก(Risk Assessment) 4) ปี 2554 มีการแพร่ไปยังพื้นที่อำเภอต่างๆ มาก (มีจำนวนตำบล/อำเภอที่มีการระบาดมาก) ให้คะแนน ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด < 26.79 % = 3 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด > 26.79 % -52.01% = 2 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด > 52.01 % -64.62% = 1 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด >64.62% = 0 5) เป็นจังหวัดที่เป็นเขตอุตสาหกรรม/ท่องเที่ยว ให้คะแนน จังหวัดที่อยู่ในเขตอุตสาหกรรม/ท่องเที่ยว = 1 ไม่เป็นเขตอุตสาหกรรม/ท่องเที่ยว = 0

วิธีการศึกษา (เชิงคุณภาพ) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออก(Risk Assessment) การให้คะแนน คะแนนสูงสุด 11 คะแนน ได้ระดับคะแนน 0-2 คะแนน มีโอกาสเสี่ยงน้อย ได้ระดับคะแนน 3-5 คะแนน มีโอกาสเสี่ยงปานกลาง ได้ระดับคะแนน 6-7 คะแนน มีโอกาสเสี่ยงสูง ได้ระดับคะแนน 8-11 คะแนน มีโอกาสเสี่ยงสูงมาก/หรือวิกฤต

วิธีการศึกษา (เชิงปริมาณ) การพยากรณ์โรคเชิงปริมาณ (Quantitative Forecasting) ใช้ข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก รวมทุกประเภท (DF, DHF และ DSS) รายเดือนมกราคม ถึงธันวาคม ระหว่างปี 2545 – 2554 ใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา (Time series Analysis) โดยวิธี ARIMA (Autoregressive Integrated Moving Average Model) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป รูปแบบที่มีฤดูกาลคือ ARIMA(p,d,q)(P,D,Q)s โดยที่ p = รูปแบบปกติของ autoregressive เทอม d = ค่าผลต่างปกติ q = รูปแบบปกติของ moving average เทอม P = รูปแบบฤดูกาลของ autoregressive เทอม D = ค่าผลต่างฤดูกาล ณ คาบเวลา s q = รูปแบบฤดูกาลของ moving average เทอม s = ช่วงของฤดูกาล

ผลการพยากรณ์

ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก (รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ตั้งแต่ปี 2536-2554

ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก(รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายเดือน ตั้งแต่ปี 2536-2554 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554

ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก(รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายจังหวัด ตั้งแต่ปี 2550-2554

ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) ร้อยละของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก(รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายเพศ ตั้งแต่ปี 2546-2554

ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) ร้อยละของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก(รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายกลุ่มอายุ ตั้งแต่ปี 2536-2554

ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) ร้อยละของโรคไข้เลือดออก(รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายอาชีพ ตั้งแต่ปี 2546-2554

ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออก(Risk Assessment) จังหวัด จำนวนอำเภอ ระดับความเสี่ยง เสี่ยงน้อย เสี่ยงปานกลาง เสี่ยงสูง เสี่ยงสูงมาก นครศรีธรรมราช 23 3 13 5 2 กระบี่ 8 1 พังงา 4 ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี 19 11 ระนอง ชุมพร รวม 74 6 35 25

ผลการพยากรณ์โรค (เชิงปริมาณ) ARIMA(0,1,0)(1,1,1)12 พอจะคาดประมาณจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ. 2556 ทั้งสิ้นประมาณ 4,750 ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ 111.9 ต่อประชากรแสนคน

ผลการพยากรณ์โรค (เชิงปริมาณ) จำนวนป่วยโรคไข้เลือดออกปี พ.ศ. 2540-2554 และจำนวนป่วยโรคไข้เลือดออกจากการพยากรณ์ ปี พ.ศ. 2555-2556 ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายเดือน Stationary R-squared 0.5 R-squared 0.8 MAPE 22.5 Sig. 0.2 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556

ผลการพยากรณ์โรค (เชิงปริมาณ) จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี พ.ศ. 2544 – 2554 และอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกจากการพยากรณ์ปี พ.ศ. 2556 ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน

ผลการพยากรณ์โรค (เชิงปริมาณ) จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจากการพยากรณ์ ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี พ.ศ. 2556

ข้อจำกัด 1. การศึกษาเป็นการนำข้อมูลทุติยะภูมิจากฐานข้อมูลระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อทั่วไป (รง 506 และ รง 507) ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้ง 7 จังหวัด ย้อนหลัง 10 ปี จึงทำให้ข้อมูลในตัวแปรบางส่วนขาดความครบถ้วนสมบรูณ์ 2. เป็นการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าด้วยการคำนวณทางสถิติ ในช่วงระยะเวลา 1 ปี ภายใต้สถานการณ์ที่สภาพลักษณะทั่วไปต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรคไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิมมากนัก ดังนั้นในกรณีที่มีการเปลี่ยนของปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรค อาจทำให้จำนวนผู้ป่วยคลาดเคลื่อนจากค่าพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยได้

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะ 1. การควบคุมพาหะนำโรค 2. อำเภอเข้มแข็ง 3. ความตระหนัก และความรู้ 4. การป้องกันตนเอง 5. การเฝ้าระวังผู้ป่วย

ข้อเสนอแนะของการพยากรณ์

ข้อเสนอแนะของการพยากรณ์ 1. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรค 2. การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง 3. การพยากรณ์ในภาพจังหวัด

สรุป

Thank You