การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
ความสำคัญ
ความสำคัญ อัตราป่วยสูง (ปี 2553 = 279.9 ต่อแสนประชากร) แพร่กระจาย อัตราป่วยสูง (ปี 2553 = 279.9 ต่อแสนประชากร) แพร่กระจาย ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม (พื้นที่แหล่งท่องเที่ยว)
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อคาดการณ์จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556 2. เพื่อบอกปัจจัยเสี่ยง กลุ่มเสี่ยง และพื้นที่เสี่ยง ต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อเสนอแนะแนวทางสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าสาธารณสุข และประชาชนในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
วิธีการศึกษา
วิธีการศึกษา (เชิงคุณภาพ) การพยากรณ์โรคเชิงคุณภาพ (Qualitative Forecasting) จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรวม 3 รหัส รายงาน 506 และ 507 Dengue fever (DF) Dengue hemorrhagic fever (DHF) Dengue shock syndrome (DSS) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา และภูเก็ต ตั้งแต่ พ.ศ.2536 -2554 ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วยรูปแบบการเกิดโรค การกระจายของโรคตามลักษณะบุคคล เวลา และสถานที่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ อัตรา
วิธีการศึกษา (เชิงคุณภาพ) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออก(Risk Assessment) 1) การเกิดโรคซ้ำซาก หมายถึง อัตราป่วยในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา จำนวนปีที่มีอัตราป่วยสูงกว่าค่า Median ของประเทศอย่างน้อย 2 ปี โดยค่า Median ของประเทศในแต่ละปี = Median ของอัตราป่วยชอง 76 จังหวัดรายปี รอบ 5 ปีที่ผ่านมา สูงกว่า Median 5 ปี = 5 สูงกว่า Median 4 ปี = 4 สูงกว่า Median 3 ปี = 3 สูงกว่า Median 2 ปี = 2 สูงกว่า Median 1 ปี = 1 ไม่สูงกว่า Median = 0
วิธีการศึกษา (เชิงคุณภาพ) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออก(Risk Assessment) 2) อัตราป่วยปี 2554 ลดลงต่ำกว่าอัตราป่วยต่ำสุดในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา ถ้าต่ำมากมีโอกาสเกิดการระบาดมาก ต่ำกว่า = 1 สูงกว่า = 0 3) อัตราป่วยปี 2554 สูงกว่า Median ย้อนหลัง 5 ปี ของจังหวัด แสดงว่า ยังมีการระบาดอยู่ปีถัดไปจะมีโอกาสน้อยกว่า
วิธีการศึกษา (เชิงคุณภาพ) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออก(Risk Assessment) 4) ปี 2554 มีการแพร่ไปยังพื้นที่อำเภอต่างๆ มาก (มีจำนวนตำบล/อำเภอที่มีการระบาดมาก) ให้คะแนน ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด < 26.79 % = 3 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด > 26.79 % -52.01% = 2 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด > 52.01 % -64.62% = 1 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด >64.62% = 0 5) เป็นจังหวัดที่เป็นเขตอุตสาหกรรม/ท่องเที่ยว ให้คะแนน จังหวัดที่อยู่ในเขตอุตสาหกรรม/ท่องเที่ยว = 1 ไม่เป็นเขตอุตสาหกรรม/ท่องเที่ยว = 0
วิธีการศึกษา (เชิงคุณภาพ) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออก(Risk Assessment) การให้คะแนน คะแนนสูงสุด 11 คะแนน ได้ระดับคะแนน 0-2 คะแนน มีโอกาสเสี่ยงน้อย ได้ระดับคะแนน 3-5 คะแนน มีโอกาสเสี่ยงปานกลาง ได้ระดับคะแนน 6-7 คะแนน มีโอกาสเสี่ยงสูง ได้ระดับคะแนน 8-11 คะแนน มีโอกาสเสี่ยงสูงมาก/หรือวิกฤต
วิธีการศึกษา (เชิงปริมาณ) การพยากรณ์โรคเชิงปริมาณ (Quantitative Forecasting) ใช้ข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก รวมทุกประเภท (DF, DHF และ DSS) รายเดือนมกราคม ถึงธันวาคม ระหว่างปี 2545 – 2554 ใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา (Time series Analysis) โดยวิธี ARIMA (Autoregressive Integrated Moving Average Model) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป รูปแบบที่มีฤดูกาลคือ ARIMA(p,d,q)(P,D,Q)s โดยที่ p = รูปแบบปกติของ autoregressive เทอม d = ค่าผลต่างปกติ q = รูปแบบปกติของ moving average เทอม P = รูปแบบฤดูกาลของ autoregressive เทอม D = ค่าผลต่างฤดูกาล ณ คาบเวลา s q = รูปแบบฤดูกาลของ moving average เทอม s = ช่วงของฤดูกาล
ผลการพยากรณ์
ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก (รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ตั้งแต่ปี 2536-2554
ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก(รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายเดือน ตั้งแต่ปี 2536-2554 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554
ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก(รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายจังหวัด ตั้งแต่ปี 2550-2554
ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) ร้อยละของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก(รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายเพศ ตั้งแต่ปี 2546-2554
ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) ร้อยละของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก(รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายกลุ่มอายุ ตั้งแต่ปี 2536-2554
ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) ร้อยละของโรคไข้เลือดออก(รวมทุกรหัส) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายอาชีพ ตั้งแต่ปี 2546-2554
ผลการพยากรณ์โรค (เชิงคุณภาพ) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออก(Risk Assessment) จังหวัด จำนวนอำเภอ ระดับความเสี่ยง เสี่ยงน้อย เสี่ยงปานกลาง เสี่ยงสูง เสี่ยงสูงมาก นครศรีธรรมราช 23 3 13 5 2 กระบี่ 8 1 พังงา 4 ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี 19 11 ระนอง ชุมพร รวม 74 6 35 25
ผลการพยากรณ์โรค (เชิงปริมาณ) ARIMA(0,1,0)(1,1,1)12 พอจะคาดประมาณจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ. 2556 ทั้งสิ้นประมาณ 4,750 ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ 111.9 ต่อประชากรแสนคน
ผลการพยากรณ์โรค (เชิงปริมาณ) จำนวนป่วยโรคไข้เลือดออกปี พ.ศ. 2540-2554 และจำนวนป่วยโรคไข้เลือดออกจากการพยากรณ์ ปี พ.ศ. 2555-2556 ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน จำแนกรายเดือน Stationary R-squared 0.5 R-squared 0.8 MAPE 22.5 Sig. 0.2 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556
ผลการพยากรณ์โรค (เชิงปริมาณ) จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี พ.ศ. 2544 – 2554 และอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกจากการพยากรณ์ปี พ.ศ. 2556 ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน
ผลการพยากรณ์โรค (เชิงปริมาณ) จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจากการพยากรณ์ ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี พ.ศ. 2556
ข้อจำกัด 1. การศึกษาเป็นการนำข้อมูลทุติยะภูมิจากฐานข้อมูลระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อทั่วไป (รง 506 และ รง 507) ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้ง 7 จังหวัด ย้อนหลัง 10 ปี จึงทำให้ข้อมูลในตัวแปรบางส่วนขาดความครบถ้วนสมบรูณ์ 2. เป็นการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าด้วยการคำนวณทางสถิติ ในช่วงระยะเวลา 1 ปี ภายใต้สถานการณ์ที่สภาพลักษณะทั่วไปต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรคไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิมมากนัก ดังนั้นในกรณีที่มีการเปลี่ยนของปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรค อาจทำให้จำนวนผู้ป่วยคลาดเคลื่อนจากค่าพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยได้
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะ 1. การควบคุมพาหะนำโรค 2. อำเภอเข้มแข็ง 3. ความตระหนัก และความรู้ 4. การป้องกันตนเอง 5. การเฝ้าระวังผู้ป่วย
ข้อเสนอแนะของการพยากรณ์
ข้อเสนอแนะของการพยากรณ์ 1. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรค 2. การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง 3. การพยากรณ์ในภาพจังหวัด
สรุป
Thank You