ขั้นตอนการจัดการสาธารณภัย การเตรียมตัวก่อนเกิดเหตุ ได้แก่ การเตรียมแผน การเตรียมอุปกรณ์ และการฝึกอบรม การตอบสนองเมื่อเกิดเหตุ มีขั้นตอนดังนี้ 1. การสั่งการและการควบคุมกำกับ < Comman and control > 2. การดูแลความปลอดภัย < Safety > 3. การสื่อสาร < Communication > 4. การประเมินสภาพ < Assessment > 5. การคัดแยกผู้บาดเจ็บ < Triage > 6. การรักษา < Treatment > 7. การส่งต่อการ < Transport > การฟื้นฟูหลังเกิดเหตุ
ปฏิบัติการทางการแพทย์ในเหตุสาธารณภัย การคัดแยกผู้บาดเจ็บ < Triage > การรักษา < Treatment > การส่งต่อ < Transport > เพื่อส่งผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลอย่างปลอดภัย
ตำแหน่งที่ต้องทำการคัดแยก (Triage ) คัดแยกครั้งที่ 1 ( Triage sieve ) ที่จุดเกิดเหตุ มักทำโดยบุคลากรของรถพยาบาล ตรวจดูอย่างรวดเร็ว 1. เดินได้หรือไม่ 2. ประเมิน ABC A = มีการอุดกั้นทางเดินหายใจหรือไม่ B = อัตราการหายใจ 10-29 ครั้ง/นาที C = การกดเล็บ ( capillary refill time 2 วินาที ) ชีพจร 120 ครั้ง/นาที
ตำแหน่งที่ต้องทำการคัดแยก (Triage คัดแยกครั้งที่ 2 ( Triage sort) ทำที่จุดรักษาพยาบาล ทำโดยแพทย์ พยาบาล วัด 3 อย่าง 1. อัตราการหายใจ 2. ความดันโลหิตตัวบน 3. ความรู้สึกตัว
การคัดแยกครั้งที่ 2 ( Triage Sort ) Respiratory rate 10 -29 4 29 3 6 – 9 2 1 – 5 1 Systolic blood pressure 90 75-89 50-75 1-49
การคัดแยกครั้งที่ 2 ( Triage Sort ) Glasgow coma scale 13-15 4 9-12 3 6 - 8 2 4 – 5 1