ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การเขียนผังงาน.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
การจำลองความคิด
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
Use Case Diagram.
การดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเทศ - ๑
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
Medication reconciliation
VDO conference dengue 1 July 2013.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2552 ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ระบาดวิทยาและ SRRT.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
นันท์นลิน นาคะกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เมษายน 2557
หลักระบาดวิทยาสำหรับ ป.ตรี
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แนวทางการเฝ้าระวัง (Chikungunya fever) ในสถาบันการศึกษาสังกัดสถาบัน พระบรมราชชนก กระทรวง สาธารณสุข กลุ่มวิจัยและพัฒนานักระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การเขียน Flowchart ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา อุบลรัตน์ นฤพนธ์จิรกุล นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการพิเศษ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จ.สระบุรี

Flowchart เป็นเครื่องมือ ที่ง่ายและมีประสิทธิภาพ ทำให้เราสามารถเข้าใจกระบวนการทำงานที่เป็นอยู่ในปัจจุบันดีขึ้น Version 2.1

จุดประสงค์ของ Flowchart ช่วยให้ทีมงานมีความเข้าใจตรงกันถึงลำดับขั้นตอนของกระบวนการทำงานที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ระบุจุดที่จะต้องพัฒนาหรือจุดที่มีปัญหา ระบุจุดที่ต้องเก็บข้อมูลในกระบวนการ กำหนดแนวทางในการพัฒนากระบวนการ Version 2.1

สัญญลักษณ์ที่ใช้ใน Flowchart จุดเริ่มต้น/สิ้นสุด แสดงถึงกิจกรรมเริ่มต้นและกิจกรรมสุดท้ายของกระบวนการ กระบวนการ แสดงถึงขั้นตอนหรือกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการ การตัดสินใจ แสดงถึงจุดตัดสินใจในการเลือกทางใดทางหนึ่ง ตัว เชื่อม คือ ตัวเชื่อม ซึ่งจะใช้ในกรณีที่ Flowchart ยาวมากกว่า 1 หน้า

วิธีการสร้าง Flowchart 1.ใช้กระบวนการทำงานที่เลือกมาแล้ว 2. กำหนดขอบเขตของกระบวนการ จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด 3. เขียนขั้นตอนแรกในสัญลักษณ์วงรี 4. แล้วถามตัวเองว่าจากจุดนี้มีกิจกรรมอะไรเกิดขึ้น ให้ใส่กิจกรรมนั้นในสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็นขั้นตอนต่อไป 5. ทำอย่างนี้ต่อไปเรื่อยๆ โดยเชื่อมโยงระหว่างสัญลักษณ์ และลูกศรต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน Decide on process to flowchart. Define beginning and end – boundaries - Need to think about what starts the process, the beginning, for example, someone comes into the store or the police station. write beginning steps of process in an oval Ask yourself what happens next? - John likes to walk his way through the process – I know all of you will do this differently. Don’t get too detailed. You’ll know when you’re doing it if you’re getting into minutia. Don’t start with putting keys in pocket, walking down the driveway, opening the door to the car, etc . continue mapping steps with one-way arrows – don’t use 2-way unless is feedback - - as you go, must keep thinking, is there a key decision here? – can’t have anything dangling, can’t end without clarifying what happens after a decision concluded both ways repeat steps until come to end Remember variation? If we don’t know how long a process takes, how are we going to schedule? It’s been shown through psychological testing that the brain can process about 5 activities at one time. When you’re reading a flow chart, I would rather use nice big clear color boxes and a connector at end of page so people can understand more easily. 80% or 90% of the time will be a yes/no question. Need to be practical and succinct. In a flowchart want information that will best enable people to communicate Version 2.1

วิธีการสร้าง Flowchart (ต่อ) 6. เมื่อถึงจุดต้องตัดสินใจให้ใช้สัญลักษณ์สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ลูกศรแต่ละอันที่ออกจากจุดตัดสินใจนี้จะต้องกลับเข้าหากระบวนการหรือออกจากกระบวนการที่ใดที่หนึ่ง 7. ทำขั้นตอนที่ 4- 6 ซ้ำจนกว่าจะถึงขั้นสุดท้ายของกระบวนการ 8. ใส่ขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการในวงรี

ตัวอย่าง Flowchart ในการให้ ART CASE EXAMPLE Flowchart Version 2.1

Version 2.1

Version 2.1

Version 2.1

กระบวนการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (Surveillance process) การรวบรวมข้อมูล ผู้ป่วยมารับบริการที่สถานบริการสาธารณสุข การวิเคราะห์ข้อมูล ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคในข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การแปลผลและสร้างข้อเสนอ จัดทำ รง.506 และส่งรายงานคามระบบ การกระจายผลการเฝ้าระวัง

กระบวนการรายงาน 506 ป 1 ผู้มารับบริการที่ OPD ศบส. ซักประวัติ เพื่อทำบัตร ซักประวัติการเจ็บป่วย วัด T,P,R,BP ตรวจคัดกรองเบื้องต้น ส่งพบแพทย์ ตรวจ วินิจฉัย เป็นโรคที่ต้องรายงาน 506 ใช่ หรือ ไม่ ไม่ใช่ ใช่ สั่งการ รักษา ส่งให้พยาบาลห้องปฎิบัติการ ซักประวัติเพิ่มเติมตามแบบ รง 506 ผู้มารับบริการที่ OPD ศบส. 1

ส่งบัตร รง.506 ให้ฝ่ายธุรการ ธุรการส่ง รง.506 ทางไปรษณีย์ 1 ประวัติเข้าข่ายโรคที่ต้องเฝ้าระวัง ใช่ หรือ ไม่ ไม่ใช่ ใช่ เขียน รง. 506 ต้องส่งตรวจ Lab หรือ ไม่ เก็บ specimen ส่งตรวจ ลงทะเบียน Lab ลงทะเบียน E1, E0 ส่งบัตร รง.506 ให้ฝ่ายธุรการ รับยา ธุรการส่ง รง.506 ทางไปรษณีย์

กระบวนการรายงาน 506 ปรับใหม่ ซักประวัติ เพื่อทำบัตร ซักประวัติการเจ็บป่วย ชั่ง นน. วัด T,P,R,BP ตรวจคัดกรองเบื้องต้น เป็นผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวัง ใช่ หรือ ไม่ ไม่ใช่ ใช่ เพิ่ม แบบ รง 506 ไปกับประวัติ พบแพทย์ เพื่อวินิจฉัย รักษา ผู้มารับบริการที่ OPD ศบส. 1

1 เป็นผู้ป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวัง ใช่ หรือ ไม่ ไม่ใช่ รับยา ใช่ เขียน รง. 506 ที่ห้องปฎิบัติการ ซักประวัติเพิ่มเติม ตามแบบ รง. 506 ,ส่งตรวจทาง ห้องปฎิบัติการ (ในบางกรณี ลงทะเบียน E1, E0 ส่ง รง.506 ที่เจ้าหน้าที่ควบคุมโรค ตรวจสอบความครบถ้วนของรายงาน ส่งบัตร รง.506 ทางไปรษณีย์ รับยา สรุปรายงาน บันทึกประวัติการเจ็บป่วย ลง รพ14

Flow chart การวินิจฉัยและการรายงานโรคไข้เลือดออก รพ.ช. แห่งหนึ่ง OPD, ER คัดกรองผู้ป่วยตาม WI-NUR-02.31/01 ทำ Tourniquet Test TT. Pos. ใช่ หรือ ไม่ ชันสูตร -CBC , Plt ,Test Kit ใช่ ไม่ใช่ แพทย์วินิจฉัยโรคตาม CPG-MED-02-07/01 เป็นไข้เลือดออก หรือไม่ ต้อง Admit ส่งเข้า ward รับยา ผู้มารับบริการ กลับบ้าน ให้การรักษา กลับบ้าน นัดวันตรวจ ให้การรักษาตาม CPG-MED-02-07/01 1

1 พยาบาล แจ้ง จนท. ฝ่ายสุขาภิบาล ฯ ใช่ ไม่ใช่ เสร็จสิ้น DHF-OPD DHF-IPD IPD ในเวลาราชการ ใช่ หรือ ไม่ จนท.ฝ่ายสุขาฯ ราย งาน ผอ.รพ. สสจ สอ. สสอ. ภายใน 24 ชม. พยาบาล แจ้ง จนท. ฝ่ายสุขาภิบาล ฯ จนท.ฝ่ายสุขาฯ ซักรายละเอียดเพิ่มเติม & บันทึกลงในแบบสอบสวนโรคฯ พยาบาล ER บันทึก ในทะเบียนรายงานโรคไข้เลือดออก พยาบาล ER แจ้ง สอ.,สสอ.,สสจ.ภายใน 24 ชม. จนท.ฝ่ายสุขาฯ เก็บรายงานจากทะเบียนที่ ER และ รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม จาก OPD card จนท.ฝ่ายสุขาฯ ลงรายงาน 506 ส่งตามระบบ ใช่ ไม่ใช่ จนท.ฝ่ายสุขาฯ รายงาน สอ. ,สสอ. , สสจ. ,ผอ. ภายใน 24 ชม. พยาบาล OPD,ER ประสานหอผู้ป่วย จนท.ฝ่ายสุขาฯ ซักรายละเอียดเพิ่มเติม & บันทึกตามแบบสอบสวนโรคฯ พยาบาลหอผู้ป่วย แจ้งฝ่ายสุขาฯ จนท.ฝ่ายสุขาฯติดตามผู้ป่วยจากทะบียน Admit & Chart ผู้ป่วย จนท.ฝ่ายสุขาฯ ลงรายงาน 506 เปลี่ยนแปลงการวินิจฉัยเป็นไข้เลือดออก ใช่ หรือไม่ เสร็จสิ้น

แบบฝึกหัด แบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ 4-5 คน สร้าง flowchart กระบวนการทำงานเฝ้าระวัง ตามระดับที่ปฏิบัติงานจริง เช่น จังหวัด อำเภอ รพ. นำเสนอรายกลุ่ม