สวัสดีคะพี่น้องชาวสาธารณสุขเขต5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล1 (นาเวง)
อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
โรงพยาบาลแก่งคอย ยินดีต้อนรับ.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ตืน
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนฟื้นฟูผู้ประสพอุทกภัย โครงการสายใยรักแห่ง ครอบครัวในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สวัสดีคะพี่น้องชาวสาธารณสุขเขต5

น้ำตกวังเต่า เขาจอมทอง สองเขื่อนงามล้ำ ถ้ำวัวแดง ศิลาแลงครบุรี บารมีหลวงปู่นิล

บริบทชุมชน แบ่งเป็นสองชุมชนใหญ่ และ หนึ่งหมู่บ้านเล็ก ห่างจากจังหวัด 56 กม. ใกล้อำเภอ 4 กม. มีทั้งหมด 8 หมู่บ้าน 1,456 ครอบครัว ประชากร 5446 คน ประชากร สูงอายุ 12 % เด็กและวัยุรุ่น 28.95 % วัยแรงงาน 59.05 % หมู่บ้านโคกสะอาด ชุมชนหนองเสือบอง 3หมู่ ชุมชนนาราก4หมู่ สถานีอนามัย โรงพยาบาลครบุรี

อัตราการเกิด 1.44 อัตราตาย 0.51 อัตราเพิ่ม0.93 สถานสุขภาพ อัตราการเกิด 1.44 อัตราตาย 0.51 อัตราเพิ่ม0.93 โรคติดต่อ อุจาระร่วง ไข้ไม่ทราบสาเหตุ สุกใส ปอดบวม อาหารเป็นพิษ คางทูม หัด วัณโรคปอด ไข้เดงกี่

วันจันทร์ ตรวจสุขภาพประชาชน ตรวจสุขภาพสตรีและวางแผนครอบครัว หลังคลอดและมะเร็งปากมดลูก เต้านม 04/04/60

วันอังคาร ให้ความรู้มารดาและบริการฝากครรภ์ บริการด้านทันตกรรมในสถานีอนามัย อังคารที่2 ฝากครรภ์คุณภาพ(โรงเรียนพ่อแม่) 04/04/60

วันพุธ พุธที่1. คลินิกเบาหวาน พุธที่2 วันพุธ พุธที่1. คลินิกเบาหวาน พุธที่2. ตรวจสุขภาพและพัฒนาการเด็กวัคซีน พุธที่3,4 คลินิกความดันโลหิตสูงและสุขภาพจิต 04/04/60

วันพฤหัสบดี พฤหัสที่2,4 คลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พฤหัสที่3 คลินิกตรวจสุขภาพและกระตุ้นพัฒนาการ 04/04/60

วันศุกร์ ศุกร์ที่1,3 คลินิกส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศุกร์ที่4.บริการอนามัยโรงเรียน 04/04/60

จำนวนผู้ป่วยนอกรายใหม่2548-2552 1. ทางเดินหายใจส่วนบนได้แก่ โรคหวัด คออักเสบ 2. การปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการประกอบอาชีพ 3. ระบบย่อยอาหารได้แก่โรคกระเพาะอาหาร 4. ฟันผุ และเหงือกอักเสบ 5. อุบัติเหตุทั่วไป สอ. 1.การติดเชื้อเฉียบพลันของทางเดินหายใจส่วนล่าง 2 .อุบัติเหตุ 3.โรครื้อรังของทางเดินหายใจส่วนล่าง(หอบหืด) 4.โรคไม่ทราบสาเหตุ 5.การติดเชื้อที่ลำไส้ รพช

ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาลและสาเหตุ ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาลเฉลี่ยเดือนละ 30 คน หรือ วันละ 1 คน สาเหตุ 1. อุบัติเหตุจราจร 2. การติดเชื้อที่ลำไส้ 3. โรครื้อรังของทางเดินหายใจส่วนล่าง 4. เนื้องอกร้ายของอวัยวะย่อยอาหาร 5. การติดเชื้อเฉียบพลันของทางเดินหายใจส่วนล่าง

บริบทสถานีอนามัย บุคลากรประจำ ข้าราชการ 3 คน ลูกจ้างชั่วคราว 4 คน พ.เวชปฏิบัติ 1 คน นักวิชาการ2คน ลูกจ้างชั่วคราว 4 คน พยาบาลเทคนิค 1 คน พสอ. 2 คน ภารโรง 1 คน หมอนวด 1 คน

สหวิชาชีพจากรพ.แม่ข่าย ร่วมบริการ แพทย์ให้บริการเดือนละ 1 ครั้ง : เดือน เภสัชกรให้บริการเดือนละ 3 ครั้ง : เดือน ทันตาภิบาลจากโรงพยาบาลสัปดาห์ละ 1 ครั้ง พยาบาลวิชาชีพร่วมให้บริการเมื่อจำเป็น หมอนวดแผนไทย สัปดาห์ละ 3 ครั้ง อาสาสมัครสาธารณสุข 106 คน ชมรมผู้สูงอายุ 8 หมู่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำโรงเรียน 4 โรงเรียน อาสาสมัครป้องกนภัยฝ่ายพลเรือน 16 คน

พัฒนารูปแบบบริการผู้ป่วยเรื้อรัง แกนนำเบาหวาน บริการไร้ความแออัด ยก รพสต.ไปหมู่บ้าน หิ้วตะกร้ามาไปหาหมอ

นวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง การออกแบบบริการเพื่อลดความแออัดในการให้บริการผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่รับบริการที่สถานีอนามัยนารากตำบลอรพิมพ์ “ หน้าไม่งอ รอไม่นาน ออกแบบบริการ ร่วมกับชุมชน ”

ดูแลต่อเนื่องถึงบ้าน ROF (Relation on family tree) Home Ward

บริบทและสภาพปัญหา จำนวนผู้ป่วยเรื้อรัง 515 คน รักษาที่สอ. ร้อยละ 84ร้อยละ 64สูงอายุ สภาพแออัด แพทย์หงุดหงิด คนไข้หงุดหงิด รอนาน กลับก่อนได้ยา ได้รับบริการไม่ครบถ้วน ไม่ได้รับคำอธิบาย เจ้าหน้าที่อ่อนล้าคุณภาพงานลดลง บริการเบาหวาน(มีแพทย์)1 วัน:เดือน บริการความดันโลหิตสูง(ไม่มีแพทย์) 2 วัน แพทย์ 1วัน: เดือน (วันDM) พยาบาลเวช 1 คน ทุกวัน นักวิชาการ 2 คน เภสัชกร 1 คน

วัตถุประสงค์ 1.ผู้ป่วยได้รับบริการอย่างมีมาตรฐาน และ ลดความแออัดของผู้รับบริการ 2. ผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการรักษาต่อเนื่องไม่น้อย กว่า ร้อยละ 95 3.ผู้รับบริการมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

กระบวนการพัฒนา ระยะที่ 1 ปรับแนวคิดสร้างความเชื่อมั่นกับผู้ป่วยและญาติ 1. สื่อสารประชุมชี้แจง 2. รับสมัครอาสาสมัครแกนนำ 3. จัดเตรียมวัสดุ และสื่อได้แก่ กล่องเยี่ยมบ้านเจาะเลือด สื่อการสอนกลุ่มเสี่ยง 1 ชุด และ สื่อการสอนผู้ป่วยเบาหวาน 1 ชุด และ CD เพลงออกกำลังกายท่าซักผ้า 4.อบรมอาสาสมัครแกนนำในการดูแลผู้ป่วย

ระยะที่ 2 ออกแบบกิจกรรมบริการ การบริการในสถานีอนามัย ในครอบครัว ในชุมชน

ภาคเช้า เดือนที่1 เดือนที่ 2 ภาคบ่าย 8.00น ภาคเช้า ภาคบ่าย ภาคเช้า 10.00 8.00 8.00น ภาคเช้า 9.00น 11.00 9.00 ภาคเช้า เดือนที่1 10.00น 14.00 12.00 ภาคบ่าย 11.00น 15.00 13.00 DM HT ภาคบ่าย 12.00น 13.00น ภาคเช้า 14.00น เดือนที่ 2 15.00น ภาคบ่าย

บริการที่ผู้ป่วยได้รับ ขั้นที่ 1 ชั่งน้ำหนัก/ส่วนสูง วัดความดันโลหิต รอบเอว รอบสะโพก ขั้นที่ 2 ตรวจและประเมินเท้า /นวดฝ่าเท้า และให้ความรู้ในการดูแลเท้า ขั้นที่ 3 ทำกิจกรรมกลุ่ม ขั้นที่ 4 ซักประวัติคัดกรองและตรวจตะกร้ายา ขั้นที่ 5 รับยาและให้ความรู้เรื่องยา ขั้นที่ 6 บริการก่อนกลับบ้านและนัดหมาย

คัดกรองปัญหาแทรกซ้อนของ ได้แก่ คัดกรอง Lipid profile (LDL, TG) ตรวจ CR ตรวจเท้าและการดูแลรักษาเท้า ตรวจตา วัดลานสายตา ต้อกระจก ประเมินภาวะซึมเศร้า ปีละ 2 ครั้ง ตรวจสุขภาพช่องปาก ปีละ1 ครั้ง

ผลลัพธ์ ลดการเข้ารักษา อัตราการนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนลดลง

ความพึงพอใจ ผู้ป่วยมีความพึงพอใจ ร้อยละ 92.30 แยกเป็นความพอใจ ผู้ป่วยมีความพึงพอใจ ร้อยละ 92.30 แยกเป็นความพอใจ ระบบบริการ ดีมาก 3.8 ดี ร 76.00 ปานกลาง 19.2 ต่อแกนนำเบาหวาน ดีมาก 7.7 ดี 92.30

สรุปและวิจารณ์ผล การจัดระบบบริการโดยใช้ข้อมูลร่วมกับการมีส่วนร่วมของชุมชนสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ถึงแม้จำนวนบุคลากรและเวลาจำกัดการนำหลักการบริหารเชิงระบบมาใช้ในการดำเนินงานจะทำให้แบ่งเบาภาระและประหยัดเวลาลงได้ตามปรัชญาของการบริการคุณภาพ คือ “หน้าไม่งอรอไม่นาน”

ขอบคุณคะ 04/04/60