การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
3 กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2553 NPP &Central Procurement (15.17) NPP &Central Procurement (15.17) P&P Area based (รวม PP Community) (58.41) P&P Area based.
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2551
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ส่งเสริมสัญจร.
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
P&P expressed demand (Itemized 9 รายการ)
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553

ผลลัพธ์ที่ผ่านมาของ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

EPI vaccine coverage rates and disease incidences, Thailand 1977-2008 Pertussis Diphtheria Measles Neonatal Tetanus ปี 2550 คอตีบ 4 ราย ตาย 1 ราย ไอกรน 23 ราย ไม่มีตาย บาดทะยักในทารกแรกเกิด 4 ราย ไม่มีตาย หัด 3893 ราย ตาย 1 ราย Case rate/100,000 (case / 100,000 live births in NNT) Vaccine coverage แหล่งข้อมูล : สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค

อัตราส่วนการตายของมารดา จากการตั้งครรภ์และการคลอด อัตราส่วนการตายของมารดา จากการตั้งครรภ์และการคลอด 18 ต่อ 100,000 หมายถึง จำนวนการตายของหญิงเนื่องจากสาเหตุที่เกี่ยวข้องหรือการดูแลรักษาขณะตั้งครรภ์และการคลอด ต่อเด็กเกิดมีชีพ จากมารดาที่คลอดบุตรในโรงพยาบาลที่เป็นสิทธิ UC จำนวน 100000 คน อัตราส่วนการตายของมารดา จากการตั้งครรภ์และการคลอด ที่รับไว้เป็นผู้ป่วยใน มีค่าเปลี่ยนแปลงขึ้นลง และมีค่าสูงกว่าเป้าหมาย หมายเหตุ ค่าที่ได้เฉพาะหญิงตั้งครรภ์และมารดาที่ตายในโรงพยาบาล และรับบริการโดยการใช้สิทธิUC เท่านั้น การคลอดโดยใช้สิทธิUC ประมาณสี่แสนคนต่อปี จากการคลอดทั้งหมด ประมาณแปดแสนคนต่อปี

Source: Department of Health, Ministry of Public Health Percentage of Low-Birth-Weight Newborns (under 2,500 grams), 1990-2006 NHSS Percentage Year Source: Department of Health, Ministry of Public Health

Mortality Rate (per 100,000 pop.) from Preterm Infants NHSS From: National Health Statistic, Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Public Health, Thailand

1) แหล่งข้อมูล:กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2) แหล่งข้อมูล จากรายงาน 0110 รง.5 ปี 2548-2551 1) แหล่งข้อมูล:กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

จำนวนการใช้บริการผู้ป่วยนอกสิทธิ UC ของ รพ.สังกัด สป.สธ. หมายเหตุ ผู้ป่วยนอกของปี 2552 เพิ่มขึ้นจากปี 2545 ในอัตรา 32% ที่มาข้อมูล: จากระบบรายงาน0110 รง.5 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

หมายเหตุ ผู้ป่วยในของปี 2552 เพิ่มขึ้นจากปี 2545 ในอัตรา 23% จำนวนการใช้บริการผู้ป่วยในสิทธิUCของ รพ.สังกัดสป.สธ. หมายเหตุ ผู้ป่วยในของปี 2552 เพิ่มขึ้นจากปี 2545 ในอัตรา 23% ที่มาข้อมูล: สกส. และสำนักนโยบายและแผน สปสช.

ที่มาข้อมูล : สำนักพัฒนาคุณภาพ สปสช. Mortality Rate (per 100,000 pop.) from All Cardiovascular Diseases (I00 – I99) NHSS ที่มาข้อมูล : สำนักพัฒนาคุณภาพ สปสช. 10

ที่มาข้อมูล : สำนักพัฒนาคุณภาพ สปสช. Mortality Rate (per 100,000 pop.) from Cerebrovascular Diseases (I60 – I69) NHSS ที่มาข้อมูล : สำนักพัฒนาคุณภาพ สปสช. 11

Mortality Rate (per 100,000 pop.) from HIV Diseases (B20 – B24) NHSS ที่มาข้อมูล : กองทุนเอดส์ สปสช. 12

การบริหารงบ PP ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล การตรวจคัดกรอง & ปรับเปลียนพฤติกรรม (เฉพาะกลุ่ม non-uc) บริหารงบ PP ใน 3 รูปแบบ PP Vertical Program PP Facility based 3) PP Community based จัดสรรงบประมาณบางส่วน ตามผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด (PP Performance) 2545-47 2549 2550 2551-52 2553 1. บริหารงบ PP ใน 3 รูปแบบ 1) P&P National Priority and Central Procurement 2) PP Expressed demand 3) PP Area based 2. ปรับ payment system จาก capitation เป็นจ่ายตามผลงาน Itemized ในบางรายการ 2. นำร่องเขตสุขภาพ 1.บริหารงบ PP ใน 4 รูปแบบ 1) PP Vertical Program 2) PP Community based 3) PP Expressed demand (diff. by age group) 4) PP Area based 2. บูรณาการงาน M&E ร่วมกับ สธ. 3. ขยายคัดกรองความเสี่ยง & ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทุกสิทธิ

แนวคิดการบริหารงบ P&P

สิ่งที่เปลี่ยนแปลงในปี 2553 ปรับโครงสร้างงบประมาณจาก 4 ส่วนเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. National Priority Program & Central Procurement 2. PP Express demand แยกจัดสรรเป็น 2 ส่วน 2.1 จัดสรรตาม Capitation หักเงินเดือนและ diff. capitation by age group 2.2 จัดสรรตามผลการให้บริการราย Itemized โดยจัดสรรตามกลุ่มเป้าหมายประชากร (Target oriented) และกิจกรรมที่กำหนด (Activities – based) 3. รวม PPA + PPC (กองทุนฯตำบล) เป็น PPA เพื่อจัดสรรในลักษณะGlobal budget ระดับเขต สปสช.

กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2553 P&P Capitation (199.22 บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ 64.4 ล้านคน) คำนวณจาก 271.79 บาท ต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 47.2 ล้านคน NPP &Central Procurement (15.17 บาท/คน) P&P Area based (รวม PP Community) (58.41 บาท/คน) P&P Expressed demand (125.64 บาท/คน) Itemized 10 รายการ (31.79) Capitation (93.85) Area problem (18.41+ ส่วนที่เหลือจากกองทุนตำบล) กองทุน อปท. (40.00) Diff. by age group หักเงินเดือน

P&P National Priority and Central Procurement ค่า Vaccine และระบบ VMI จัดพิมพ์สมุดบันทึกแม่ & เด็ก และสมุดบันทึกนักเรียน 2) National Priority Program ต่อเนื่องจากปี 2552 โครงการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาประเทศ โครงการส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล โครงการสายใยรักของครอบครัว โครงการพัฒนาสมรรถนะการจัดการสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรค

 มีการจัดสรรเป็น 2 ส่วน P&P Expressed Demand  เป็นการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรครายบุคคลตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยหน่วยบริการ ซึ่งดำเนินการทั้งในและนอกหน่วยบริการ  มีการจัดสรรเป็น 2 ส่วน 1. เหมาจ่ายรายหัว Capitation 2. ตามผลการให้บริการ Itemization

P&P Expressed Demand (Capitation) - การฝากครรภ์ - การตรวจหลังคลอด - การให้ภูมิคุ้มกันโรคในทุกช่วงอายุ - การดูแลสุขภาพและพัฒนาการตามวัยเด็ก - บริการวางแผนครอบครัว - การดูแลสุขภาพช่องปาก - บริการตรวจคัดกรองและการปรับพฤติกรรมสุขภาพทุกกลุ่มวัย - บริการให้สุขศึกษา ความรู้ คำแนะนำ - บริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันปัญหาด้านสุขภาพจิต - บริการอนามัยโรงเรียน - กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

P&P Expressed Demand (Itemization) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดการเข้าถึงบริการ P&P ที่จำเป็น เพิ่มมากขึ้น 2. เพื่อให้เกิดคุณภาพการบริการ P&P และการดูแลอย่างต่อเนื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายชดเชย 1. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการรายบุคคลครบถ้วนตามที่กำหนด 2. มีระบบการกำกับ ติดตาม ประเมินผล รวมทั้งการตรวจสอบการ ให้บริการ( Clinical & Financial Audit )

P&P Expressed Demand ( 10 Itemization) ANC PNC FP EPI การตรวจคัดกรองTSH การตรวจสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 6-12 ปี ทุกสิทธิ ตรวจคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง DM,HT,Stroke,Obesity ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี VIA,จี้เย็น,Pap Smear ตรวจคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่ป่วย ด้วยโรคเรื้อรัง 5 โรค

P&P Area–based แนวทาง วัตถุประสงค์ ดำเนินงานร่วมกันระหว่าง สปสช. เขต และ เขตตรวจราชการสาธารณสุข ภายใต้หลักเกณฑ์ เงื่อนไขการจัดสรรงบของคณะกก. ระดับเขต โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่นและเอกชน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในระดับจังหวัดและเขต 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นให้หน่วยบริการจัดบริการเชิงรุกในชุมชน โดย การมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชนให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ 3. เพื่อสนับสนุนและจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

P&P Area based จัดสรรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพ อบต./เทศบาล ในอัตรา 40 บาท/ปชก. 2. จัดสรรให้ สปสช.สาขาจังหวัดเพื่อดำเนินงาน P&P สำหรับพื้นที่และชุมชนในอัตรา 18.41 บาท/ปชก. รวมกับส่วนที่เหลือจากการจัดสรรใน ข้อ 1. (ปรับเกลี่ยในระดับประเทศ )

การกำกับติดตามประเมินผล งาน P&P ปี 2553 แผนการจัดสรร/การเบิกจ่ายงบประมาณ ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด (Composite Indicator) การกำกับติดตามโดยคณะทำงานร่วม สปสช. และกระทรวงสาธารณสุข พัฒนาระบบ Audit (Financial & Quality)

ขอบคุณครับ