แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สวัสดีครับ.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ

ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำที่ถูกต้อง SRM แผนที่ยุทธศาสตร์ ประชาชนมีบทบาทในการดูแลตนเอง/ครอบครัว ชุมชน ด้านอาหารและน้ำสะอาด ปลอดภัย ภายในปี พ.ศ.2555 (ระยะ 3 ปี) ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำที่ถูกต้อง ประชาชนมีส่วนร่วมจัดการด้านอาหารและน้ำปลอดภัย ระดับประชาชน (population) องค์กรแหล่งทุนให้การสนับสนุนการดำเนินงาน กลุมผู้ผลิตน้ำประปาที่มีคุณภาพ อปท.พัฒนาและควบคุมสถานประกอบการให้ได้ตามพรบ.สาธารณสุข ชมรมผู้ประกอบการ/สมาคม มีส่วนร่วมในการพัฒนา หน่วยงานภาครัฐ สื่อมวลชนภาคเอกชน และ ประชาสังคมร่วมพัฒนาและสนับสนุน (Stakeholder) ระดับภาคี มีกลไกในการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ภาคี(CRM) มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ร่วมกันและนำไปใช้เชิงบูรณาการ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย มีระบบการพัฒนามาตรฐานวิชาการและกฎหมาย มีการจัดการความรู้และ นวตกรรม มีระบบการเฝ้าระวังที่มีคุณภาพ ระดับกระบวนการ จนท.มีความรู้ทักษะในการดำเนินงาน (SMART) มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ องค์กรมีสมรรถนะสูง ระดับ พื้นฐาน

SRM แผนที่ยุทธศาสตร์ ประชาชนมีบทบาทในการดูแลตนเอง/ครอบครัว ชุมชน ด้านอาหารและน้ำสะอาด ปลอดภัย ภายในปี พ.ศ.2555 (ระยะ 3 ปี) ประชาชนมีส่วนร่วมจัดการด้านอาหารและน้ำปลอดภัย - สนับสนุนการใช้มาตรการทางสังคม - เร่งรัดให้มีโครงการอาหารปลอดภัยโดยชุมชน - สนับสนุนการพิทักษ์สิทผู้บริโภค - ส่งเสริมให้มีการเฝ้าระวังเรื่องอาหาร และน้ำปลอดภัยโดยชุมชน ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำที่ถูกต้อง - ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ,ความเข้าใจ และความตระหนัก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง - สร้างและพัฒนาบุคลากร/ครอบครัวต้นแบบด้านอาหาร น้ำสะอาด ปลอดภัยในชุมชน ระดับประชาชน (population) กลุมผู้ผลิตน้ำประปาที่มีคุณภาพ -ผลักดันให้มีการควบคุมน้ำประปาที่ผลิตให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน -พัฒนาระบบควบคุมการผลิต -ผลักดันให้ท้องถิ่นมีการบริหารจัดการประปาหมู่บ้าน/เทศบาลให้มีคุณภาพ อปท.พัฒนาและควบคุมสถานประกอบการให้ได้ตามพรบ.สาธารณสุข - พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ อปท.สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -สนับสนุนการออกและใช้ข้อบัญญัติท้องถิ่น - เร่งรัดพัฒนาให้สถานประกอบการด้านอาหารและน้ำได้มาตรฐาน องค์กรแหล่งทุนให้การสนับสนุนการดำเนินงาน - แสวงหาความร่วมมือและจัดทำฐานข้อมูลแหล่งทุน - จัดตั้งศูนย์ประสานงานแหล่งทุน - มีการเผยแพร่แหล่งทุนให้ภาคี ชมรมผู้ประกอบการ/สมาคม มีส่วนร่วมในการพัฒนา - แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ศึกษาดูงาน - พัฒนาศักยภาพ - สนับสนุนให้มีชมรมต้นแบบ หน่วยงานภาครัฐ สื่อมวลชนภาคเอกชน และ ประชาสังคมร่วมพัฒนาและสนับสนุน พัฒนาความสัมพันธ์ สนับสนุนให้มีหน่วยงานต้นแบบกินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด (Stakeholder) ระดับภาคี มีกลไกในการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ภาคี(CRM) - สร้างและจัดระบบการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่าย - พัฒนาระบบ CRM มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ร่วมกันและนำไปใช้เชิงบูรณาการ - การจัดทำแผนอย่างมีส่วนร่วมและถ่ายทอดแผนฯสู่การปฏิบัติ - สร้างระบบประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ - มีระบบการติดตามอย่างต่อเนื่อง พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย - พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะ - พัฒนาระบบรับฟังความคิดเห็น - พัฒนาทักษะภาคี(เช่นให้สามารถใช้ระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ) มีระบบการเฝ้าระวังที่มีคุณภาพ - พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง การเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ ( ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการกินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด) สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังโดยชุมชน สร้างความเชื่อมโยงเครือข่าย มีระบบการพัฒนามาตรฐานวิชาการและกฎหมาย - พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี - พัฒนาระบบกฎหมายสาธารณสุข กฎเกณฑ์ - พัฒนามาตรฐานและระบบงาน มีการจัดการความรู้และ นวตกรรม - สร้างคลังความรู้อาหารปลอดภัย - สร้างบัญชีนวัตกรรม - สร้างแผนที่สถานประกอบการที่เป็นต้นแบบด้านนวัตกรรม -สนับสนุนให้มีทีมวิจัย ระดับกระบวนการ มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ - พัฒนาระบบฐานข้อมูล (ทำโพล) - ส่งเสริมให้ภาคีมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบฐานข้อมูล - พัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง -ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม -สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -ส่งเสริมระบบการทำงานตามพระราชกฤษฎีกา,การบริหารจัดการที่ดี -ส่งเสริมความเป็นผู้นำ จนท.มีความรู้ทักษะในการดำเนินงาน (SMART) - พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพและทันต่อการเปลี่ยนแปลง - สร้างระบบความก้าวหน้าในอาชีพและแรงจูงใจในการทำงาน - มีการสื่อสารแบบสองทางภายในองค์กร ระดับ พื้นฐาน 3