ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารการจัดการประชุม ให้ประสบความสำเร็จ
Advertisements

ชื่อตัวชี้วัด : คำอธิบาย :
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
1. 1. คะแนนประเมินฯ ทั้งสิ้น : หักไม่เกิน 1 คะแนน คำนวณโดยหักคะแนนการนำส่งข้อมูล ล่าช้าวันละ 0.03 คะแนน 2. ประเภทข้อมูลที่ใช้ในการประเมินฯ : 2.2 ข้อมูลการลงทุน.
ตัวชี้วัดที่ ๖ ตัวชี้วัดที่ ๖ ร้อยละความสำเร็จของการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนัก ร้อยละ ๕ มิติภายใน.
กลุ่มที่ ๒ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
หลักเกณฑ์การคิดคะแนนประเมินผล
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด ประจำปี 2556
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
13 สิ่งที่หน่วยงานต้อง ดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผลชี้แจงทำความเข้าใจ และมอบหมายงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง รับผิดชอบดำเนินการ  
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ 243/2556 เรื่อง แนวทางการ ปฏิบัติในการพิจารณาคำขอรวมทั้ง เอกสารที่เกี่ยวข้องตาม.
แผนภูมิการประเมินผลปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ. ระเบียบราชการพลเรือน พ. ศ.2551 ของ สำนักงานเกษตรจังหวัด เชียงราย คำรับรองปฏิบัติ ราชการกรมส่งเสริม รับรองปฏิบัติราชการ.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
ด้านข้อร้องเรียนของกรมทางหลวง
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
ประชุมกำหนดแนวทางการประเมินผลดัชนีความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ พ. ศ
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ชื่อตัวชี้วัด ชนิดตัวชี้วัด ( แบบปริมาณ / แบบ ขั้นตอน ) ประเภทตัวชี้วัด.....(
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
แผนผัง (Flow Chart) ขั้นตอนการรายงาน แบบ M 1 – M 4
การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
การออกแบบจัดแสดงนิทรรศการ อธิบายรายละเอียดวิชา
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ขั้นตอนการจัดการเรื่องร้องเรียน
การประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ ของสำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี ครั้งที่ ๔ / ๒๕๕๑ วันอังคารที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๐. ๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น ๓ ตึก.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ระเบียบวาระการประชุมหัวหน้าส่วนการบริหารงานเทศบาล ครั้งที่ 1/2558 วันจันทร์ที่ 5 มกราคม 2558 เวลา น. ณ ห้องประชุมจุฬามณี 1 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัด :. 3. 2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ ตัวชี้วัด : 3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร คำอธิบาย : เรื่องร้องเรียน หมายถึง การร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานครที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ ของกรุงเทพมหานคร(MIS) การบริหารจัดการกับเรื่องร้องเรียน คือ 1. มอบหมายเจ้าหน้าที่ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนจากระบบฯ ทุกวัน 2. แจ้งผู้เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหาโดยเร็ว 3. มีรูปภาพประกอบ ก่อนและหลัง หรือหลักฐานอื่นๆ รายงานผล ให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ 4. ชี้แจงผู้ร้อง (กรณีสามารถติดต่อได้) 5. บันทึกผลการดำเนินการให้สามารถตอบผู้ร้องได้ผ่านระบบฯ และรายงานความก้าวหน้าตามระยะเวลาที่กำหนด

เกณฑ์การให้คะแนน : ขั้นตอนที่ หัวข้อ คะแนน 1 การรับเรื่อง 2 การดำเนินการแก้ไข 3 การรายงานผล สูตรการคำนวณรายขั้นตอน คะแนนรายขั้นตอน = ผลรวมของจำนวนเรื่องที่ถูกต้องในแต่ละขั้นตอน * ๑๐๐ จำนวนเรื่องร้องเรียนที่ปรากฏในรายงานของหน่วยงาน ตลอดปีงบประมาณ ๒๕๕๗   ค่าที่ได้ต้องไม่น้อยกว่า ๙๕% ถึงจะได้คะแนนเต็มในขั้นตอนนั้น หากได้น้อยกว่า ๙๕% = ค่าที่ได้ * คะแนนเต็มในขั้นตอนนั้น ๙๕

ขั้นตอนการปฏิบัติ/เกณฑ์การให้คะแนน จำนวนเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานตอบรับภายใน 1 วันทำการ นับถัดจากวันที่ศูนย์รับแจ้งทุกข์แจ้งเรื่อง และ รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 ภายใน 3 วันทำการ นับถัดจากวันที่หน่วยงานตอบรับดำเนินการ ขั้นตอนที่ 1 : การรับเรื่อง (1 คะแนน)

ขั้นตอนที่ 2 : การดำเนินการแก้ไข (1 คะแนน) (2 คะแนน) จำนวนเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานมีการดำเนินการแก้ไข และ รายงานผลการดำเนินการโดยระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ และ มีการติดตามความคืบหน้า โดยตลอด - ทุกวันที่ 15 - ทุกวันที่ 30 (เดือน ก.พ.= วันสุดท้ายของเดือน) ส่งภาพถ่ายก่อน-หลังหรือหลักฐานประกอบการดำเนินการ ให้กองกลางทาง อีเมล์ bma.rongtook@gmail.com กองกลางสุ่มตรวจความถูกต้องสอดคล้องกับการรายงานผล ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ กรุงเทพมหานคร(MIS) จำนวน ๑๐% ของจำนวนเรื่องร้องเรียนในระบบฯ ที่มีสถานะการดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วในแต่ละเดือน ไม่น้อยกว่า ๘๐% ของจำนวนเรื่องที่สุ่มตรวจ มิฉะนั้นจะต้องถูกหักคะแนนเดือนละ ๐.๐๕

ขั้นตอนที่ 3 : การรายงานผล หน่วยงานจัดทำรายงานการสรุปเรื่องร้องเรียนทุกเดือน ให้หัวหน้าหน่วยงานทราบและส่งให้กองกลางพิจารณาภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป มิฉะนั้นจะถูกตัดคะแนน เดือนละ ๐.๑ คะแนน เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณาประเมินผล : 1. บันทึกรายงานผล ความก้าวหน้าการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ 2. แบบรายงานรหัส CPL_R๐๐๓ รายงานผลการปฏิบัติงาน ในระบบ เรื่องราว ร้องทุกข์ 3. แบบรายงานรหัส CPL_R๐๐๑ รายงานเรื่องคงค้างหน่วยงาน ดำเนินการ 4. รูปภาพก่อน-หลัง หรือหลักฐานประกอบการดำเนินการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนส่งทางอีเมล์ bma.rongtook@gmail.com