ประเด็นนำเสนอ กลุ่ม Cairns - ความเป็นมา - สมาชิกในกลุ่ม - เป้าหมายของกลุ่ม - บทบาทของกลุ่มในการเจรจา - วัตถุประสงค์ของการประชุม การเจรจาสินค้าเกษตรรอบโดฮา - การเปิดตลาด (ลดภาษี/ขยายโควตา) - การลดการอุดหนุนภายใน - การยกเลิกการอุดหนุนส่งออก
การเจรจารอบโดฮา Doha Development Agenda (DDA) Cairns Group’s focus NAMA Agriculture Services WTO Rules Discussion on Singapore Issues TRIPS Environment Dispute Settlement Understanding Implementation-related issues การเจรจารอบโดฮา Doha Development Agenda (DDA) 8 main issues in DDA Agriculture Non-Agricultural Market Access Services WTO rules; anti-dumping, Subsidies and Countervailing Measure, Fishery subsidy, regional trade agreements. TRIPs and Geographical indications and the registration system Trade and Environment Dispute Settlement Understanding Implementation-related issues and concerns such as Custom Valuation agreement, technical assistance to LDCs, longer time-frame for developing countries to comply with other countries’ new SPS measures. Ministers also agreed to consider/study whether they would bring Singapore Issues (investment, competition policy, transparency in government procurement, trade facilitation) into WTO negotiations at a later date. DDA conclusion must be “Single Undertaking” (except for “Dispute Settlement Understanding”) which means “Nothing is agreed until everything is agreed”
กลุ่ม Cairns ความเป็นมา กลุ่ม Cairns เป็นการรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการของประเทศผู้ส่งออกสินค้าเกษตรในช่วงปี 2529 ก่อนเปิดการเจรจารอบอุรุกวัย เพื่อผลักดันให้การเจรจารอบอุรุกวัยให้ความสำคัญกับเรื่องการค้าสินค้าเกษตร สมาชิกในกลุ่ม ปัจจุบัน กลุ่ม Cairns มีสมาชิกจำนวน 19 ประเทศ มีการส่งออกสินค้าเกษตรมากกว่าร้อยละ 25 ของการส่งออกสินค้าเกษตรของโลก โดยมีสมาชิกประกอบด้วย ออสเตรเลีย อาร์เจนตินา โบลิเวีย บราซิล แคนาดา ชิลี โคลัมเบีย คอสตาริกา กัวเตมาลา อินโดนีเซีย มาเลเซีย นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ปารากวัย เปรู ฟิลิปปินส์ อุรุกวัย แอฟริกาใต้ และไทย โดยมีออสเตรเลียเป็นแกนนำและผู้ประสานงานของกลุ่ม
กลุ่ม Cairns เป้าหมายของกลุ่ม 1. ผลักดันปฏิรูประบบการค้าสินค้าเกษตรของโลกให้มีความเสรีและเป็นธรรมยิ่งขึ้น 2. สร้างอำนาจต่อรองผลักดันให้ประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ เช่น สหภาพยุโรป สหรัฐฯ และญี่ปุ่น เปิดเสรีการค้าสินค้าเกษตรมากขึ้นในทั้ง 3 ประเด็นสำคัญของการเจรจา กล่าวคือ การเปิดตลาด การลดการอุดหนุนภายใน และการลด/ยกเลิกการอุดหนุนส่งออก บทบาทของกลุ่มในการเจรจารอบโดฮา กลุ่ม Cairns มีเอกภาพน้อยลง เนื่องจากสมาชิกหลายประเทศก็ให้ความสำคัญกับกลุ่มอื่นที่ตนเป็นสมาชิกอยู่ด้วยมากกว่า เช่น บราซิล และอาร์เจนตินา มีบทบาทค่อนข้างเด่นชัดอยู่ในกลุ่ม G-20 หรือบางประเทศก็อยู่ในกลุ่มอื่นที่มีท่าทีแตกต่างกับกลุ่ม Cairns เช่น อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ อยู่ในกลุ่ม G-33 ที่ไม่ต้องการเปิดตลาดมาก ******ปัจจุบัน ประเด็นที่กลุ่ม Cairns มีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจนคือเรื่องการลดการอุดหนุนภายใน และการยกเลิกการอุดหนุนส่งออก******
Overlapping Membership: Cairns Group, G-20, and G-33 ผลักดันให้ประเทศพัฒนาแล้วเปิดตลาดและลดการอุดหนุนภายใน แต่ต้องการให้มีความยืดหยุ่นอย่างมากในการเปิดเสรีสำหรับประเทศกำลังพัฒนา Barbados Jamaica Kenya Peru Zambia Benin Etc. Australia Canada Colombia Costa Rica Malaysia Egypt Cuba Indonesia Philippines Pakistan China India Nigeria Tanzania Venezuela Zimbabwe Argentina Bolivia Brazil Chile Guatemala Paraguay South Africa Thailand Uruguay Mexico Ecuador G-20 New Zealand G-33 Cairns Strategic groups (offensive and defensive interests) in Agriculture G 20: A group of 23 (agricultural exporting) developing countries, ambitious in market access and calls for substantial reduction/stricter disciplines in domestic support. G 33: A group of developing and least developed countries which are agricultural importing countries and has defensive interests in Agriculture. CAIRNS: A group of 18 Agriculture-exporting countries (both developed and developing countries) ,established to push for the liberalisation of trade in agricultural exports and to balance the power of net importers of Agriculture. เน้นการปิดตลาดของประเทศกำลังพัฒนา ผลักดันการเปิดตลาด ลดการอุดหนุนภายใน และยกเลิกการอุดหนุนส่งออก