งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเลี้ยงโคนมในประเทศไทย Dairy Production in Thailand

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเลี้ยงโคนมในประเทศไทย Dairy Production in Thailand"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเลี้ยงโคนมในประเทศไทย Dairy Production in Thailand
356443

2 วัตถุประสงค์ ผู้เรียนสามารถ ตอบคำถาม ต่อไปนี้ เมื่อจบบทเรียน
ทำไมต้องส่งเสริมการเลี้ยงโคนม ผู้เลี้ยงโคนมต้องเผชิญกับเหตุการณ์สำคัญ ในการเลี้ยงโคนม จากอดีตถึงปัจจุบันอย่างไรบ้าง ประเด็นเรื่องราคาน้ำนมดิบ รัฐบาลเข้ามาสนับสนุนการเลี้ยงโคนมอย่างไร

3 องค์ประกอบของน้ำนม องค์ประกอบของน้ำนม - ‘อาหารธรรมชาติ ที่สมบูรณ์แบบที่สุด’ TS fat protein lactose minerals % human milk cow’s milk reindeer milk TS = fat + protein + lactose + minerals SNF = protein + lactose + minerals Cow’s milk: protein = 2.8% casein + 0.5% albumin 3

4 คุณค่าทางอาหารของน้ำนม
1. Protein : high quality 2. Calcium : The important dietary source of calcium : One liter of milk supplies as much calcium as 21 eggs , 12 kg of lean beef, or whole wheat bread. = = / One liter 21 eggs 12 kg of lean beef/whole wheat bread 3. Vitamins : One glass of milk ≈ 44% recommended daily vitamins intake (RDI) 4

5 ความสำคัญของการเลี้ยงโคนม
ความต้องการน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม การสร้างรายได้ และอาชีพให้ประชาชน การพึ่งพาตนเอง ของประเทศชาติ 5

6 ลักษณะกิจการโคนม งานเลี้ยงโคนมเป็นงานประจำ แทบไม่มีวันหยุด
แม่โคนมเป็นสัตว์ที่คุ้นเคยกิจวัตรประจำ ต้องรักษาความสะอาด คอก อยู่เสมอ ใช้แรงงานทั้งปริมาณและคุณภาพ

7 ข้อดี/ข้อด้อยของการเลี้ยงโคนม
ข้อดีของกิจการโคนม มีงานให้ทำตลอดปี มีความอบอุ่นในครอบครัว ให้รายได้ทุกวันตลอดปี ใช้เศษเหลือทางการเกษตร เป็นอาหารโคนมได้ ข้อด้อยของกิจการโคนม - ลงทุนเบื้องต้นสูง - ต้องมีประสบการณ์ หรือผ่านฝึกการอบรม - ใช้เวลานานในการพัฒนาคุณภาพโค ให้ดีขึ้น

8 รายได้จากการเลี้ยงโคนม
1. น้ำนมดิบ – ราคาต่อ กก. ตามเกรดของคุณภาพ : * องค์ประกอบ - ไขมัน / โปรตีน / SNF 2. ลูกโคเพศผู้ แม่โคคัดทิ้ง - อัตราการคัดทิ้ง ~30% ต่อปี แม่โค / โคสาว - ตามสมัครใจ มูลโค 8

9 รายได้จากการเลี้ยงโคนม เพิ่มจำนวนเพศเมีย (70:30)
วิธีธรรมชาติ (50:50) เพิ่มจำนวนเพศเมีย (70:30) เพศเมีย 440 ตัว เพศผู้ 440 ตัว เพศเมีย 704 ตัว เพศผู้ 176 ตัว ลูกโค* 220,000 88,000 น้ำนม* 22,000,000 35,200,000 แม่โคคัดทิ้ง* 6,600,000 10,560,000 รายได้ทั้งหมด 28,600,000 45,760,000 28,820,000 45,848,000 *ลูกโค คำนวณราคาลูกโคตัวละ 500 บาท * น้ำนม คำนวณจากการจำหน่ายน้ำนมของโคที่มีผลผลิต 3,000 กก.ต่อระยะการให้นม มีกำไรประมาณ 10,000 บาทต่อระยะการให้นม และสามารถให้นมได้ 5 ครั้ง * แม่โคคัดทิ้ง คำนวณจากแม่โคคัดทิ้งตัวละ 15,000 บาท

10 การพัฒนาการเลี้ยงโคนม
นโยบาย 1. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพื่อลดต้นทุนการผลิต 2. ศึกษาวิจัยพัฒนาพันธุ์โคนม ผลิตภัณฑ์นมและธุรกิจ ต่อเนื่อง เป้าหมาย 1. ผลิตแม่โคนม ผลิตภัณฑ์นม และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเปิดตลาดส่งออกไปประเทศ ในแถบภูมิภาค อาเซียน 2. เป็นศูนย์กลางการผลิตโคนม ในภูมิภาคอาเซียน ปัจจุบัน 1. น้ำนมดิบที่ผลิตได้ ใช้ผลิตนมพร้อมดื่ม บริโภคในประเทศ เกือบทั้งหมด 2. ผลิตภัณฑ์นมนำเข้าที่สำคัญ คือนมผงขาดมันเนย ผลิตนมพร้อมดื่ม มีต้นทุนต่ำกว่าใช้น้ำนมดิบ

11 วิวัฒนาการของการเลี้ยงโคนม
ก่อน พ.ศ. 2500 ชาวอินเดีย/ปากีสถาน เลี้ยงโคกระบือนม ในไทยมานาน อาหารนมที่ บริโภคกันมากขณะนั้น คือ นมข้นหวาน นมข้นจืด และนมผง

12 หลังสงครามโลกครั้งที่เริ่มต้นการส่งเสริมเลี้ยงโคนม
โดยกรมปศุสัตว์และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พันธุ์โคนมที่นำเข้าในระยะนั้นได้แก่ พันธุ์ Holstein Friesian, Jersey, Brown Swiss, Red Sindhi 2500 – สถานีผสมเทียมที่ เชียงใหม่/กรุงเทพฯ

13 หลังจากปี พ.ศ 2500 2503 พระบาทสมเด็จพระปรมินมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จประพาสประเทศเดนมาร์ค ต่อมารัฐบาลเดนมาร์ค+สมาคมเกษตรโคนมเดนมาร์ค : น้อมเกล้าถวายโครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคนม : ร่วมมือกับรัฐบาลไทยจัดตั้งฟาร์มโคนม และศูนย์ฝึกอบรมการเลี้ยงโคนมไทย-เดนมาร์ค อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี : อาชีพพระราชทาน

14 ช่วง ทศวรรษแห่งการเริ่มต้นการส่งเสริม พัฒนา และวิจัยด้านโคนมของไทย ด้วยพระบารมีของในหลวง ฟาร์มโคนมไทยเดนมาร์คเกิดขึ้น " องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย“ (อ.ส.ค.) 2508 – โครงการโคนมไทย-เยอรมัน ที่จังหวัดเชียงใหม่

15 ช่วง กลุ่มเกษตรกรหนองโพ ซึ่งเลี้ยงโคนมมาตั้งแต่ก่อน 2502 ได้รวมตัวกันขึ้นเป็น สหกรณ์โคนมราชบุรี 2514 – ออกพระราชกฤษฎีกาตั้ง อ.ส.ค. เป็นช่วงเติบโตและขยายการเลี้ยงโคนม ปัญหานมล้นถัง-โคล้นคอก เกิดขึ้นบ่อยครั้ง

16 ช่วง 2521 - 2530 กฎกระทรวงที่สำคัญ 2 ฉบับ 2524 - ศูนย์ฝึกอบรมโคนม FAO
กระทรวงอุตสาหกรรม ผู้นำเข้านมผงเพื่อทำนมคืนรูป ต้องซื้อนมสดกับปริมาณนมคืนรูปที่ผลิต เป็นอัตราส่วน 1 : 1 และกระทรวงพาณิชย์ออกระเบียบ ให้ผู้นำเข้าหางนมผงต้องรับซื้อนมสด ในสัดส่วนการซื้อนมสด 20 กก ต่อการนำเข้านมผง 1 กก ศูนย์ฝึกอบรมโคนม FAO ที่ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์เชียงใหม่ ห้วยแก้วจังหวัด เชียงใหม่ รัฐบาลมีนโยบายเร่งรัดส่งเสริมการเลี้ยงโคนม มีการรณณรงค์ให้ประชาชนดื่มนมมากขึ้น โดยภาครัฐและเอกชน

17 2527 – สถาบันพัฒนาฝึกอบรมและวิจัยโคนมแห่งชาติ -แม่หยวก
อุบัติเหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ที่เมืองเชินโนบิล ประเทศรัสเซีย ทำให้การนำเข้านมผงจากยุโรปลดลง

18 ช่วง ภาครัฐ และเอกชน นำเข้าโคพันธุ์แท้ HF จากทวีปยุโรป อเมริกาเหนือ และออสเตรเลีย เป็นต้นว่าจากประเทศ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์เข้ามาเลี้ยงหลายฟาร์ม

19 พ.ศ.2533 รัฐบาล จัดงบประมาณสนับสนุน “นมโรงเรียน” 2535
ฟาร์มโคนมไทย-แคนาดา เลี้ยงโคพันธุ์ โฮลสไตน์ฟรีเชียน ที่ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์เชียงใหม่ แม่หยวก จำนวน โคนม จำนวนฟาร์ม และปริมาณนมช่วง 2532 – 42 เพิ่มมากขึ้น รัฐบาล จัดงบประมาณสนับสนุน “นมโรงเรียน” 2535

20 วันดื่มนมโลก องค์การอาหารแห่งสหประชาชาติ หรือ The Food and Agriculture Organization หรือ FAO วันที่ 1 มิถุนายน ของทุกปี “วันดื่มนมโลก” (World Milk Day) เพื่อให้ประเทศต่างๆ และ องค์กรให้ความสำคัญและ สนับสนุนการบริโภคนม รวมถึง จัดกิจกรรมรณรงค์และกระตุ้นให้ เห็นความสำคัญของการบริโภคนม

21 ช่วง ราคาขยับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งกากถั่วเหลือง ข้าวโพดและตัวอื่น คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติให้ปรับขึ้นราคาน้ำนมดิบเป็น กก.ละ 18 บาท จากเดิม บาท

22 ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย (TAFTA)
815 รายการ มีระยะเวลาในการลดภาษีตั้งแต่ลดภาษีเป็น 0 ทันที - ภายใน ปี ภายใน ปี (2563) : นมผงเต็มมันเนย (Whole milk) เนยและชีส ภายในเวลา 20 ปี (2568) : น้ำนมดิบและนมพร้อมดื่ม

23 ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-นิวซีแลนด์
1,088 รายการ ภาษีสินค้าเกษตร  (808 รายการ) ระยะลดภาษีเป็น 0 % ตั้งแต่วันแรก- 20 ปี นม ครีม และนมผงขาดมันเนย : ภายใน 20 ปี (2568)

24 เส้นทางการเป็นผู้นาอุตสาหกรรมโคนมอาเซียนของไทย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community : AEC) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ วันที่ 8 สิงหาคม 2510 สมาชิก 10 ประเทศ ได้แก่ สมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ คือ บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย กับสมาชิกอาเซียนใหม่ 4 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่าและเวียดนาม

25 แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint
เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี เคลื่อนย้ายบริการเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี ที่มา : ธนิต (2552)

26 วัตถุประสงค์การตั้ง AEC
ให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี

27 มาตรการที่สำคัญของ AEC
ให้มีการนาเข้าส่งออกสินค้าได้อย่างเสรี ภายในปี 2558 ประกอบด้วย -ยกเลิกภาษีสินค้านาเข้า -ยกเลิกสินค้าที่มีโควตาภาษี ( น้ำนมดิบ/นมปรุงแต่งและนมผงขาดมันเนย )

28 การดาเนินการของกรมปศุสัตว์ด้านโคนมเพื่อรองรับ AEC
การจัดทามาตรฐานฟาร์ม การจัดทามาตรฐานน้านมดิบ การจัดทามาตรฐานการรับซื้อน้านมดิบ การจัดทามาตรฐานศูนย์รวมนม การจัดทามาตรฐานฟาร์มปลอดโรค

29 การเตรียมความพร้อมของ อุตสาหกรรมโคนมรองรับ AEC
เกษตรกร/องค์กรเกษตรกรต้องเข้าสู่มาตรฐาน เพื่อรักษาคุณภาพ ผู้ประกอบการ/โรงงานแปรรูป ต้องมีระบบการ จ่ายเงินตามคุณภาพที่จูงใจ ภาครัฐ/กระทรงเกษตรและสหกรณ์ ต้องปรับตัว จากเดิมที่ทำหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุนด้าน วิชาการต้องทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาด้านการผลิต และการตลาด

30 สถานการณ์การเลี้ยงโคนม
จำนวนโคนม และการผลิตโคนมของเพื่อนบ้าน ความต้องการบริโภค น้ำนม และผลิตภัณฑ์นมของเขา ใคร คือ เจ้าพ่อโคนม ในโลก / เอเซีย / ยุโรป / อัฟริกา/ อเมริกาใต้ - เหนือ ใครชอบกินนม

31 Global milk production
23 percent South Asia mainly India and Pakistan 21 percent EU-25 mainly Germany and France 12 percent USA 10 percent CIS (Commonwealth of Independent States):, mainly the Russian Federation and Ukraine Latin America:, mainly Argentina, Brazil, Colombia and Mexico 8 percent East and Southeast Asia:, mainly China and Japan 5 percent Africa: − the largest milk-producing countries are Egypt, Kenya, South Africa and Sudan 4 percent Oceania Near and Middle East:, mainly Iran and Turkey 5 percent

32 Global milk production
3.5 % Fat corrected milk (FCM) = (0.432 x lb of milk) + (lb of fat x 16.23) 4% FCM = 0.4M + 15F Energy corrected milk : ECM (kg/day) = milk (kg/day) × [38.3 × fat (g/kg) × protein (g/kg) × lactose (g/kg) ]/3140

33 Milk prices in US$ per 100 kg milk ECM
> 40 30-40

34 Milk:feed price ratio 2.5 1-1.5

35 Average dairy herd size
100 10-30

36 Number of dairy farms growth rate
10 1

37 Global milk consumption
‘milk equivalents’ (MEs) so as to account for the consumption of milk in its different forms, such as yoghurt or cheese, in addition to liquid milk. 30 >100

38 Global milk consumption
‘milk equivalents’ (MEs) so as to account for the consumption of milk in its different forms, such as yoghurt or cheese, in addition to liquid milk. High, more than 150 kg per capita/year: Argentina, most CIS countries (Russian), Costa Rica, Ecuador, Europe , Honduras, Israel, Lebanon, North America, Oceania, Turkey, Uruguay and others such as Pakistan and Sudan. Medium, kg per capita/year: India, Japan, Republic of Korea, North and Southern Africa, most countries of the Middle East and Latin America (except Argentina, Ecuador and Uruguay). Low, less than 30 kg per capita/year: China, Ethiopia, Yemen and most countries of Central Africa and East and Southeast Asia

39 List of Top 10 Countries By Milk Consumption
S.No. Country Domestic Consumption (1000 MT)  1  EU-27  140,400.00  2  India  121,495.00  3  United States  88,768.00  4  China  31,774.00  5  Russian Federation  31,405.00  6  Brazil  30,803.00  7  New Zealand  17,926.00  8  Mexico  11,261.00  9  Argentina  11,045.00  10  Ukraine  10,793.00

40 Top Ten Per Capita Cattle's Milk Consumers
Milk (gallons) Cheese (lbs) Butter (lbs)  Finland 48.6  42.1  11.7  Sweden 38.4  40.8  2.2  Ireland 34.3  23.2  6.4  Netherlands 32.5  45  7.3  Norway 30.8  35.3  9.5  Spain 31.5  21.2  Switzerland 29.7  49  12.3  United Kingdom 29.4  26.9  8.2  Australia 28.1  25.8  Canada 25

41 Top ten net exporting/importing countries
Net exporters Net importers 1 New Zealand China 2 EU Mexico 3 Australia Japan 4 EU-10 New members Algeria 5 USA Russian Federation 6 Argentina Philippines 7 Ukraine Saudi Arabia 8 Belarus Indonesia 9 Uruguay Nigeria 10 Switzerland Viet Nam

42 แหล่งผลิตโคนมของประเทศไทย
11.23% ขอนแก่น กาญจนบุรี นครปฐม เพชรบุรี 18.12% เชียงใหม่ สระแก้ว ประจวบคีรีขันธ์ 57.82% สระบุรี นครราชสีมา ลพบุรี ราชบุรี

43 ภาพรวมโครงสร้างอุตสาหกรรมโคนมของไทย
ตลาดนมพาณิชย์ผลิต โดยใช้นมดิบหรือนมผง ผู้บริโภค สหกรณ์โคนม ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ รับซื้อน้ำนมดิบ โรงงานแปรรูป ผลิตภัณฑ์นม เกษตรกรโคนม ผลิตน้ำนมดิบ นมผงนำเข้า ตลาดนมโรงเรียน (ใช้เฉพาะนมดิบผลิต)

44 ภาพรวมศูนย์รวมนมและโรงงาน
ศูนย์รวมนมมีรวม ศูนย์ - ศูนย์รวมนมสหกรณ์ ศูนย์ - ศูนย์รวมนมของเอกชน ศูนย์ จำนวนโรงงานมีทั้งสิ้น 75 โรงงาน กำลังการผลิต รวม 2,779 ตัน/วัน - โรงงานผลิตนมยูเอชที 15 โรงงาน - โรงงานผลิตนมพาสเจอร์ไรส์ 60 โรงงาน น้ำนมดิบที่ผลิตได้ (2,260 ตัน/วัน) เมื่อเทียบกับกำลังการผลิต คิดเป็น 80% ของกำลังการผลิต

45 โคนม - น้ำนมดิบ 2553 เกษตรกรโคนม 18,484 ครัวเรือน โคนม 495,410 ตัว
เกษตรกรโคนม ,484 ครัวเรือน โคนม ,410 ตัว แม่โครีดนม ,517 ตัว น้ำนมดิบรวม ,691 ตัน น้ำนมดิบ กก/ตัว/วัน ต้นทุนการผลิต บาท/กก ราคาที่เกษตรกรขายได้ บาท/กก ผลตอบแทน บาท/กก ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2553)

46 จำนวนโคนมเพศเมียและผลผลิตน้ำนมดิบของไทย
รายการ * อัตราเพิ่ม ** (%) โคนมทั้งหมด ณ 1 ม.ค.(ตัว) 492, , , , , ,900 แม่โคนม ณ 1 ม.ค.(ตัว) 291, , , , , ,840 ผลผลิตน้ำนมดิบ(ตัน) 729, , , , , ,840 การบริโภคนมพร้อมดื่ม(ตัน) 917, , , , , ,000

47 โคนมทั้งหมด ณ 1 ม.ค.(ตัว)

48 แม่โคนม ณ 1 ม.ค.(ตัว)

49 ผลผลิตน้ำนมดิบ(ตัน)

50 การบริโภคนมพร้อมดื่ม(ตัน)

51 สมาชิกส่งน้ำนมดิบให้ อ.ส.ค.
รายงานจำนวนโคนมและ สมาชิกส่งน้ำนมดิบให้ อ.ส.ค. ภาค สมาชิกส่งนม โคทั้งหมด โครีดนม ปริมาณนมดิบ (ราย) (ตัว) (ตัว) (ตัน/วัน) กลาง 1, , , เหนือ , , อีสาน ,257 6, ใต้ 1, , , รวมทั้งหมด 3, , ,

52 สมาชิกส่งนม (ราย)

53 จำนวนโคนมทั้งหมด (ตัว)

54 จำนวนโครีดนม (ตัว)

55 การผลิตน้ำนมดิบ (ตัน)

56 น้ำนมเฉลี่ย (กก./ตัว/วัน)
น้ำนมเฉลี่ย (กก./ตัว/วัน)

57 ปริมาณน้ำนมดิบในประเทศไทย
ตันต่อวัน

58 ต้นทุนและราคาน้ำนมดิบ (บาท/กก.)
15.50 บาท/กก 1/12/2550 14.50 บาท/กก 16/8/2550 13.75 บาท/กก 1/4/ 2550 1/3/2541 1/10/2535 1 /1/2539

59 การค้า 1. ใช้ในประเทศ นมพร้อมดื่ม - 908,180 ตัน
2. นำเข้า ผลิตภัณฑ์นมรวม ปริมาณ – ตัน ,260 มูลค่า – ล้านบาท ,302 แหล่งนำเข้า - ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา 3. ส่งออก ผลิตภัณฑ์นมรวม ปริมาณ – ตัน ,960 มูลค่า - ล้านบาท 4,337 แหล่งส่งออก – มาเลเซีย เขมร ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ ฮ่องกง

60 โครงสร้างอุตสาหกรรมนมไทย
ผู้ประกอบการมากราย (Fragmented Industry) นมพร้อมดื่ม (97%) เนยแข็ง (2.8%) ร้านค้าทั่วไป (0.2%) เกษตรกร 23,439 ราย โคนม ,350 ตัว นมดิบ ,900 ตัน นมพร้อมดื่ม 841,701 ตัน - พาณิชย์ 13,000 ล้านบาท 353,586 ตัน (42.00%) - ร.ร. 7,000 ล้านบาท 253,675 ตัน (30.14%) ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ - สหกรณ์ 117 สหกรณ์ 610,426 ตัน (74%) - เอกชน 63 ราย 214,474 ตัน (26%) - ผู้ผลิต UHT ราย ผู้ผลิตพาสเจอร์ไรส์ 60 ราย สหกรณ์ ราย สถาบันการศึกษา 18 ราย เอกชนรายย่อย ราย - ผู้ผลิตเนยแข็ง ราย นมเปรี้ยวและเนยแข็ง 10,000 ล้านบาท 234,440 ตัน (27.86%)

61 ส่วนแบ่งตลาดผลิตภัณฑ์นม

62 ปัญหาการเลี้ยงโคนมในประเทศไทย
ปัญหาด้านการผลิต ต้นทุนการผลิตน้ำนมดิบ : กิโลกรัมละ บาท ขาดแคลนแม่พันธุ์โคนมที่มีคุณภาพ ส่วนใหญ่เป็นรายย่อย : ประมาณ 40% =ขนาดฟาร์มน้อยกว่า 10 ตัว ประมาณ 32% ขนาดฟาร์ม ระหว่าง 10 – 20 ตัว : ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรวบรวมและขนส่งน้ำนมดิบสูง : ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบริการผสมเทียมและการป้องกันรักษาโรคสูง

63 ปัญหาการเลี้ยงโคนมในประเทศไทย
4. ส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงค่อนข้างสูง เงินทุนของตนเองมีไม่เพียงพอ ต้องกู้ยืมจาก แหล่งเงินทุน 5. ขาดแคลนทุ่งหญ้า แหล่งอาหารหยาบที่มีคุณภาพ และสถานที่เลี้ยงมีขนาด พื้นที่จำกัด รวมถึงอาหารข้นมีราคาแพงขึ้น 6. ขาดการจัดทำระบบฐานข้อมูลโคนมและเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม

64 ปัญหาการเลี้ยงโคนมในประเทศไทย
ปัญหาด้านการตลาด 1. คนไทยยังมีการบริโภคนมพร้อมดื่มค่อนข้างต่ำ +การแข่งขันทวีความรุนแรงมากขึ้น 2. การเปิดเสรีการค้า และลดอัตราภาษีนำเข้าผลิตภัณฑ์นม จากต่างประเทศต่ำกว่าข้อผูกพัน 3. การแข่งขันในตลาดนมโรงเรียน และตลาดนมพาณิชย์ จะรุนแรงขึ้น


ดาวน์โหลด ppt การเลี้ยงโคนมในประเทศไทย Dairy Production in Thailand

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google