การระดมความ คิดเห็น ภาคประชาชน แรงงาน และ ผู้บริโภค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นำเสนอในงานเปิดตัว Media Inside Out Group 14 กรกฎาคม 2555.
Advertisements

ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์ให้กับสาธารณชนทราบ
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
ก้าวจากวันวาน...สู่วันนี้...และก้าวไปวันข้างหน้า
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ยุทธศาสตร์ การสื่อสารองค์กร
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
ผลการประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง บทบาทของภาคธุรกิจใน การสนับสนุนให้นำเอา GHS ไปปฏิบัติ กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม นำเสนอต่อการประชุมสัมมนาระดับชาติ
โครงการพัฒนามาตรฐานการจัดทำฉลากเคมีภัณฑ์
การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคและ การพัฒนาเครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชน
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Participation : Road to Success
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
การพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
การพยากรณ์โรค.
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นายวิเชียร มีสม วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนที่ 3 สอนโดย นายวิเชียร มีสม 1 เรื่อง สุขภาพผู้บริโภค เรื่อง.
การประชุมสมัชชาคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ วันที่ ๒๖ – ๒๗ เมษายน พ. ศ. ๒๕๕๓.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การระดมความ คิดเห็น ภาคประชาชน แรงงาน และ ผู้บริโภค

สถานการณ์ฉลากสารเคมีในปัจจุบัน การตกแต่งฉลาก และบรรจุภัณฑ์ทำให้ รู้สึกว่าสารนั้นปลอดภัย ประชาชนคุ้นเคยกับฉลากปัจจุบันถึงแม้จะ ยังค่อนข้างสับสน เนื้อหาในฉลากไม่น่าอ่าน เพราะเข้าใจยาก ตัวเล็กเนื้อหามาก ชาวบ้านไม่เข้าใจเนื้อหาในฉลาก การโฆษณาสินค้าทำให้เข้าใจว่าสารเคมี บางชนิดปลอดภัย – แสดงคำเตือนไม่ชัดเจน – กฎหมายควบคุมมีหลายฉบับ 2

ความคิดเห็น ความรู้ ความเข้าใจ ต่อระบบ GHS มีความรู้ต่อระบบ GHS ค่อนข้างน้อย สัญลักษณ์ Pictogram บางตัวไม่สื่อ ความหมาย ภาพ Pictogram ที่เป็นรูปคนสื่อ ความหมายในทางบวก รู้สึกว่าระบบ GHS มีความแตกต่าง / ขัดแย้ง กับความเข้าใจเดิม ถ้าหากต้องใช้ระบบ GHS อยากให้นำ ระบบเดิมที่ดีกว่ามาประยุกต์ร่วมกัน คำที่ใช้เป็นสัญลักษณ์บอกอันตราย ไม่ รุนแรงเท่าเดิม เช่น จาก “ พิษ ร้ายแรง เปลี่ยนเป็น อันตราย ” 3

ความคิดเห็น ความรู้ ความเข้าใจ ต่อระบบ GHS ( ต่อ ) การนำระบบนี้มาใช้มีสิ่งที่ต้องทำประกอบ หลายอย่าง เช่น – ทำวิจัยว่าประชาชนจะสามารถเข้าใจการ สื่อสารระบบ GHS หรือไม่ พร้อมทั้งการเสนอ แนวทางในการทำความเข้าใจ – ต้องรณรงค์ทำความเข้าใจกับประชาชนอย่าง กว้างขวางต่อเนื่อง – ถ้าสัญลักษณ์ หรือฉลากใดทำให้เกิดความ สับสนต้องเสนอเข้าสู่ GHS subcommittee 4

ทำความเข้าใจกับ ภาคประชาชน ต้องใช้โครงการใด ระยะสั้น –Harmonize หน่วยงาน ให้ได้องค์ความรู้และ ทิศทางเดียวกัน – วางแผนด้านการสื่อประชาสัมพันธ์ที่เข้าใจ ง่าย และถูกต้อง – ให้ความรู้ที่เข้าใจง่าย ตรงเป้าหมาย และ กว้างขวาง กับทุกภาคส่วน – เสริมเนื้อหาในหลักสูตร และเพิ่มศักยภาพ บุคคลากรทางการศึกษา ระยะยาว หลังปี 2551 – ให้ความรู้ที่เข้าใจง่าย ตรงเป้าหมาย และ กว้างขวาง กับทุกภาคส่วน – สร้างระบบ Social Monitor 5

บทบาทของภาคประชาสังคมร่วมกับ รัฐ 1) กำหนดนโยบาย – มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อสะท้อน ต้นทุนแฝง เช่น การเก็บภาษี หรือการใช้ หลัก PPP – ผู้นำเข้า / ผู้ผลิตต้องมีระบบประกันความเสี่ยง จากความเสียหายต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และอุบัติภัย ที่มีปัญหาจากระบบ GHS – ผู้นำเข้า / ผู้ผลิตต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่าย ระบบ GHS จนถึงการประชาสัมพันธ์ – ภาครัฐต้องบูรณาการการทำงานของ หน่วยงานให้ได้ โดยเฉพาะ กฎหมาย / ตีความ การบังคับใช้ และการปฏิบัติงาน 6

บทบาทของภาคประชาสังคมร่วมกับ รัฐ ( ต่อ ) 2) การพัฒนาเครือข่าย - เชื่อมต่อกับเครือข่ายเดิม ได้แก่ ผู้บริโภค แรงงาน เกษตร - คณะกรรมการที่กำหนดนโยบาย GHS ต้องมา จากทุกภาคส่วน โดยคำนึงถึงอัตราส่วนที่เท่า เทียมกัน 77

บทบาทของภาคประชาสังคมร่วมกับ รัฐ ( ต่อ ) 3) การเชื่อมต่อระหว่างภาคประชาสังคมกับภาครัฐ - จัดการประชุมทุกภาคส่วนเพื่อติดตามการ ดำเนินงาน / เสนองานวิจัยเป็นประจำ - จัดการประชุมเฉพาะภาคประชาชนเพื่อรับฟัง ความคิดเห็นเป็นประจำ - สร้างช่องทางการรับข้อมูลที่ชัดเจน เช่น ช่อง ทางการร้องเรียนผ่าน อย. ที่เบอร์

ขอบคุ ณค่ะ