ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม
โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
โครงการปรับปรุงศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ของสหกรณ์สู่มาตรฐาน GMP
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
กระบวนการจัดการความรู้
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMPและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ผลการดำเนินงานในรอบ 11 เดือน ปีงบประมาณ 2546
ปัญหา อุปสรรค  สถานที่ทำงานแยกจากกัน ทำให้ กำกับดูแล ประสานงานยาก  เจ้าหน้าที่ในกลุ่มตส.2 ขาดความ มั่นใจในการทำงาน ขาดขวัญ กำลังใจในการพิจารณาผลงาน.
Food and drug administration
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
กลุ่มติดตาม ตรวจสอบ อาหาร เครื่องสำอาง และ วัตถุอันตราย.
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การรายงานผลการตรวจวัดการรั่วซึมของสารอินทรีย์ระเหยจากอุปกรณ์ และการซ่อมแซมอุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การทดสอบและออกหนังสือรับรองบุคลากร ส่งเสริมงานความปลอดภัย ในการทำงานเฉพาะด้าน ประกาศ 8 พฤษภาคม 2557.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
มาตรการควบคุมอาหารแปรรูป ที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย
การประเมินความเสี่ยงและการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องสำอาง โดย เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้อำนวยการกองควบคุมเครื่องสำอาง.
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ไข้เลือดออก.
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
มาตรฐานการบริหารและการจัดการศึกษา
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
นโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก”
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
Primary GMP นางอุบล ธาราวรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
1.การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารPrimary GMP
การเก็บตัวอย่างอาหาร (สำหรับงานตรวจสอบ) กรณีร้องเรียน, กรณีพิเศษ, กรณีเร่งด่วน จากสถานที่ผลิตอาหาร, จำหน่ายอาหาร, นำเข้า กลุ่มกำกับดูแลหลังออกสู่ตลาด สำนักอาหาร.
1. การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหาร Primary GMP 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง 1.1 ตรวจประเมินสถานที่ผลิต - ดำเนินการร่วมกับทีม PGMP ระดับอำเภอ - สถานที่ผลิตที่ได้รับอนุญาตแล้ว.
ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศ 142,234 แห่ง เป้าหมายการดำเนินงานอาหารสะอาด รสชาติ อร่อย ปี 2549 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้ มาตรฐาน 60%
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
ระเบียบกรมธุรกิจพลังงาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการทดสอบและตรวจสอบถังเก็บและจ่ายก๊าซ หรือถังขนส่งก๊าซที่ผลิตขึ้นใหม่ โดยการนำเข้าจากต่างประเทศ พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 Mobile Unit for Food Safety ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ดร.ทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ ผู้อำนวยการสำนักอาหาร

ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ด้านความปลอดภัยอาหาร ร่วมกับจังหวัด (4 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ด้านความปลอดภัยอาหาร ร่วมกับจังหวัด (4 ตัวชี้วัด) 1 การกำกับดูแลมาตรฐานเกลือบริโภค 2 การกำกับดูแลมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานความปลอดภัยของนมโรงเรียน 3 การตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยว 4 การดำเนินงานโครงการ Primary GMP

แนวทางการการดำเนินงาน การกำกับดูแลมาตรฐานเกลือบริโภค ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางการการดำเนินงาน ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต/สถานที่จำหน่าย ผ่านมาตรฐานตามประกาศฯ กำหนด (20-40 ppm) ร้อยละ 70 ตรวจสอบมาตรฐานเกลือบริโภค ณ สถานที่ผลิตและสถานที่จำหน่าย อย่างน้อยจังหวัดละ 50 ตัวอย่าง ดังนี้ 1. สถานที่ผลิต 1.1 ตรวจสอบกระบวนการผลิต ขั้นตอนการผสมไอโอดีนให้ได้มาตรฐาน และเก็บตัวอย่างเกลือบริโภคระหว่างการผลิต ณ สถานที่ผลิตทุกแห่ง ตรวจสอบด้วยเครื่อง I Reader ตามวิธีการสุ่มตัวตัวอย่าง (เริ่มพฤษภาคม 2556 เป็นต้นไป) 1.2 รายงานผลการตรวจสอบลงฐานข้อมูลบนเวปไซด์ www.iodinethailand.com 2. สถานที่จำหน่าย 2.1 สุ่มตรวจสอบฉลากและตรวจสอบคุณภาพเกลือบริโภค ณ สถานที่จำหน่าย ด้วยเครื่อง I Reader (เริ่มพฤษภาคม 2556 เป็นต้นไป) 2.2รายงานผลการตรวจสอบลงฐานข้อมูลบนเวปไซด์ www.foodsafetymobile.org Content Layouts

แนวทางการการดำเนินงาน การกำกับดูแลมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานความปลอดภัยของนมโรงเรียน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางการการดำเนินงาน ร้อยละของนมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิตมีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามประกาศ 1. ตรวจประเมินสถานที่ผลิตนมโรงเรียนทุกแห่งในจังหวัดตามเกณฑ์ GMP ปีละ 2 ครั้ง (1 ครั้ง/เทอม) 2. เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิตและส่ง ตรวจวิเคราะห์คุณภาพมาตรฐาน ณ กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีละ 2 ครั้ง (1 ครั้ง/เทอม) - ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555: ตรวจประเมินภายในเดือนธันวาคม 2555 – มกราคม 2556 - ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556: ตรวจประเมินภายในเดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2556 3. ส่งรายงานการตรวจผลิตภัณฑ์และสถานที่ผลิตนมโรงเรียน มายังสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 4. แนะนำให้ความรู้การเก็บรักษานมโรงเรียนที่ถูกต้องแก่ โรงเรียน/ผู้ขนส่ง 5. ดำเนินการตาม Compliance Policy จังหวัดที่ไม่มีสถานที่ผลิต ขอให้ดำเนินการตรวจสอบอุณหภูมิ การตรวจรับผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ตามคู่มือการเก็บรักษา และขนส่งนมโรงเรียน และให้ความรู้แก่โรงเรียนในพื้นที่ จังหวัดละ 10 แห่ง ร้อยละ 95 Content Layouts

แนวทางการการดำเนินงาน การตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยว ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางการการดำเนินงาน ร้อยละสถานที่ผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวได้รับการตรวจตามเกณฑ์ GMP 2. ร้อยละผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยว ณ สถานที่ผลิตมีปริมาณวัตถุกันเสีย เป็นไปตามประกาศฯ ร้อยละ 100 ร้อยละ 85 1. ตรวจประเมินสถานที่ผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวตามเกณฑ์ GMP ปีละ 1 ครั้ง 2. เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยวทุกประเภท ณ สถานที่ผลิต โดยสุ่มเก็บสถานที่ผลิตละ 1 ตัวอย่าง ส่งตรวจวัตถุกันเสีย ณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยต้องมีปริมาณกรดเบนโซอิก ไม่เกิน 1,000 ppm 3. ดำเนินการเปรียบเทียบปรับสถานที่ผลิตที่มีผลวิเคราะห์ไม่ได้มาตรฐาน Content Layouts

แนวทางการการดำเนินงาน การดำเนินงานโครงการ Primary GMP ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางการการดำเนินงาน ร้อยละของผู้ประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) ที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ร้อยละ 70 1. สำรวจความพร้อมและรวบรวมข้อมูลของสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย 2. ตรวจสถานที่ผลิตที่มายื่นขออนุญาตตามแนวทางที่กำหนด ตามกฎหมาย ได้แก่ - สถานที่ผลิตฯ ตามประกาศสธ.ฉบับที่ 342 พ.ศ.2555 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย - ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ตามประกาศสธ.ฉบับที่ 343 พ.ศ.2555 เรื่อง ฉลาก (ฉบับที่ 3) หมายเหตุ รายใหม่มีผลบังคับใช้ 7 พ.ย. 55 รายเก่ามีผลบังคับใช้ 7 พ.ย. 58 Content Layouts

ให้คนไทยได้บริโภคอาหาร ที่มีความปลอดภัยและมีสุขภาพดี ขอบคุณ ร่วมแรงร่วมใจ ให้คนไทยได้บริโภคอาหาร ที่มีความปลอดภัยและมีสุขภาพดี สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา