ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 Mobile Unit for Food Safety ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ดร.ทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ ผู้อำนวยการสำนักอาหาร
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ด้านความปลอดภัยอาหาร ร่วมกับจังหวัด (4 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ด้านความปลอดภัยอาหาร ร่วมกับจังหวัด (4 ตัวชี้วัด) 1 การกำกับดูแลมาตรฐานเกลือบริโภค 2 การกำกับดูแลมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานความปลอดภัยของนมโรงเรียน 3 การตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยว 4 การดำเนินงานโครงการ Primary GMP
แนวทางการการดำเนินงาน การกำกับดูแลมาตรฐานเกลือบริโภค ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางการการดำเนินงาน ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต/สถานที่จำหน่าย ผ่านมาตรฐานตามประกาศฯ กำหนด (20-40 ppm) ร้อยละ 70 ตรวจสอบมาตรฐานเกลือบริโภค ณ สถานที่ผลิตและสถานที่จำหน่าย อย่างน้อยจังหวัดละ 50 ตัวอย่าง ดังนี้ 1. สถานที่ผลิต 1.1 ตรวจสอบกระบวนการผลิต ขั้นตอนการผสมไอโอดีนให้ได้มาตรฐาน และเก็บตัวอย่างเกลือบริโภคระหว่างการผลิต ณ สถานที่ผลิตทุกแห่ง ตรวจสอบด้วยเครื่อง I Reader ตามวิธีการสุ่มตัวตัวอย่าง (เริ่มพฤษภาคม 2556 เป็นต้นไป) 1.2 รายงานผลการตรวจสอบลงฐานข้อมูลบนเวปไซด์ www.iodinethailand.com 2. สถานที่จำหน่าย 2.1 สุ่มตรวจสอบฉลากและตรวจสอบคุณภาพเกลือบริโภค ณ สถานที่จำหน่าย ด้วยเครื่อง I Reader (เริ่มพฤษภาคม 2556 เป็นต้นไป) 2.2รายงานผลการตรวจสอบลงฐานข้อมูลบนเวปไซด์ www.foodsafetymobile.org Content Layouts
แนวทางการการดำเนินงาน การกำกับดูแลมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานความปลอดภัยของนมโรงเรียน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางการการดำเนินงาน ร้อยละของนมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิตมีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามประกาศ 1. ตรวจประเมินสถานที่ผลิตนมโรงเรียนทุกแห่งในจังหวัดตามเกณฑ์ GMP ปีละ 2 ครั้ง (1 ครั้ง/เทอม) 2. เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิตและส่ง ตรวจวิเคราะห์คุณภาพมาตรฐาน ณ กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีละ 2 ครั้ง (1 ครั้ง/เทอม) - ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555: ตรวจประเมินภายในเดือนธันวาคม 2555 – มกราคม 2556 - ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556: ตรวจประเมินภายในเดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2556 3. ส่งรายงานการตรวจผลิตภัณฑ์และสถานที่ผลิตนมโรงเรียน มายังสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 4. แนะนำให้ความรู้การเก็บรักษานมโรงเรียนที่ถูกต้องแก่ โรงเรียน/ผู้ขนส่ง 5. ดำเนินการตาม Compliance Policy จังหวัดที่ไม่มีสถานที่ผลิต ขอให้ดำเนินการตรวจสอบอุณหภูมิ การตรวจรับผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ตามคู่มือการเก็บรักษา และขนส่งนมโรงเรียน และให้ความรู้แก่โรงเรียนในพื้นที่ จังหวัดละ 10 แห่ง ร้อยละ 95 Content Layouts
แนวทางการการดำเนินงาน การตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยว ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางการการดำเนินงาน ร้อยละสถานที่ผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวได้รับการตรวจตามเกณฑ์ GMP 2. ร้อยละผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยว ณ สถานที่ผลิตมีปริมาณวัตถุกันเสีย เป็นไปตามประกาศฯ ร้อยละ 100 ร้อยละ 85 1. ตรวจประเมินสถานที่ผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวตามเกณฑ์ GMP ปีละ 1 ครั้ง 2. เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยวทุกประเภท ณ สถานที่ผลิต โดยสุ่มเก็บสถานที่ผลิตละ 1 ตัวอย่าง ส่งตรวจวัตถุกันเสีย ณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยต้องมีปริมาณกรดเบนโซอิก ไม่เกิน 1,000 ppm 3. ดำเนินการเปรียบเทียบปรับสถานที่ผลิตที่มีผลวิเคราะห์ไม่ได้มาตรฐาน Content Layouts
แนวทางการการดำเนินงาน การดำเนินงานโครงการ Primary GMP ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางการการดำเนินงาน ร้อยละของผู้ประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) ที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ร้อยละ 70 1. สำรวจความพร้อมและรวบรวมข้อมูลของสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย 2. ตรวจสถานที่ผลิตที่มายื่นขออนุญาตตามแนวทางที่กำหนด ตามกฎหมาย ได้แก่ - สถานที่ผลิตฯ ตามประกาศสธ.ฉบับที่ 342 พ.ศ.2555 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย - ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ตามประกาศสธ.ฉบับที่ 343 พ.ศ.2555 เรื่อง ฉลาก (ฉบับที่ 3) หมายเหตุ รายใหม่มีผลบังคับใช้ 7 พ.ย. 55 รายเก่ามีผลบังคับใช้ 7 พ.ย. 58 Content Layouts
ให้คนไทยได้บริโภคอาหาร ที่มีความปลอดภัยและมีสุขภาพดี ขอบคุณ ร่วมแรงร่วมใจ ให้คนไทยได้บริโภคอาหาร ที่มีความปลอดภัยและมีสุขภาพดี สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา