การจัดทำผังรวมสถิติ ด้านเศรษฐกิจ ดร. ไมตรี วสันติวงศ์ ที่ปรึกษาโครงการ CDP-SP
ข้อมูลสถิติในปัจจุบัน ประชากร แรงงาน การเกษตร ที่อยู่อาศัย การเงิน การคลัง อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การศึกษา ... มีข้อมูลสถิติไม่ครบถ้วน มีการจัดทำข้อมูลสถิติ ซ้ำซ้อนกัน ใช้มาตรฐานสถิติที่แตกต่างกัน/ การจัดทำไม่เป็นไปตามหลัก วิชาการสถิติ ขาดการประสานงานที่เป็นระบบ ผู้ใช้ข้อมูลมีความสับสนในข้อมูลสถิติ
ข้อมูลสถิติในอนาคต มีแผนสถิติของประเทศ มีหน่วยงานหลักรับผิดชอบการจัดทำข้อมูลสถิติในแต่ละเรื่อง มีข้อมูลครบถ้วน และไม่ซ้ำซ้อนกัน จัดทำข้อมูลสถิติตามหลักวิชาสถิติ มีมาตรฐานเดียวกัน บริการข้อมูลแบบ One Stop Service ลดงบประมาณการจัดทำสถิติ สถิติ ประชากร แรงงาน การเกษตร ที่อยู่อาศัย การเงิน การคลัง อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การศึกษา ...
หลักการและเหตุผลการจัดทำผังรวมสถิติ สสช. ทำหน้าที่จัดทำ กรอบการจัดทำข้อมูลสถิติที่มีระบบ หลักการและเหตุผลการจัดทำผังรวมสถิติ ลดความ ซ้ำซ้อน ในการจัดทำ ข้อมูลสถิติ ระหว่าง หน่วยสถิติ ประสานงานกับหน่วยสถิติให้มีส่วนร่วม ในการผลิต ข้อมูลที่มี เอกภาพและประสิทธิภาพ ผังรวม สถิติ ส่งเสริมให้มีมาตรฐานและการจัดทำ ตามหลักวิชาการสถิติ
การจัดทำผังรวมสถิติ Data Directory ผังรวม สถิติ แผนแม่บทสถิติ
Data Directory
Data Directory
ACC Programme Classification สถิติด้านเศรษฐกิจ สถิติด้านสังคม และประชากรศาสตร์ สถิติด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การเปรียบเทียบการจัดประเภทสาขาสถิติ สำนักงานสถิติแห่งชาติ 23 สาขา ACC Programme Classification ด้านสังคม 1. สถิติประชากรและเคหะ 2. สถิติแรงงาน 3. สถิติการศึกษา การฝึกอบรม ศาสนาและ วัฒนธรรม รวมถึงสถิติสื่อสารมวลชน 4. สถิติด้านสุขภาพ 5. สถิติสวัสดิการสังคม 6. สถิติเกี่ยวกับหญิงและชาย 7. สถิติรายได้และรายจ่ายของครัวเรือน 8. สถิติด้านสังคม ประชากรศาสตร์และ สถิติอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ด้านสังคมและประชากรศาสตร์ 1. สถิติประชากรศาสตร์ 2. สถิติประชากร 3. สถิติเคหะ 4. สถิติแรงงาน 5. สถิติการศึกษาและการฝึกอบรม 6. สถิติวัฒนธรรม รวมถึงสถิติสื่อสารมวลชน 7. สถิติด้านสุขภาพ 8. สถิติสวัสดิการสังคม 9. สถิติเกี่ยวกับหญิงและชาย 10. สถิติรายได้และรายจ่ายของครัวเรือน 11. สถิติด้านสังคม ประชากรศาสตร์และ สถิติอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การเปรียบเทียบการจัดประเภทสาขาสถิติ สำนักงานสถิติแห่งชาติ 23 สาขา ACC Programme Classification ด้านเศรษฐกิจ 1. สถิติบัญชีประชาชาติ 2. สถิติการเกษตร การป่าไม้และการประมง 3. สถิติอุตสาหกรรมและเหมืองแร่ 4. สถิติพลังงาน 5. สถิติการค้าส่ง ค้าปลีก และการค้าระหว่างประเทศ 6. สถิติการขนส่ง 7. สถิติการคมนาคม ด้านเศรษฐกิจ 1. สถิติบัญชีประชาชาติ 2. สถิติการเกษตร 3. สถิติป่าไม้และการประมง 4. สถิติอุตสาหกรรม 5. สถิติพลังงาน 6. สถิติการค้าส่งและค้าปลีก 7. สถิติการค้าระหว่างประเทศ - สถิติการค้า - สถิติการบริการ 8. สถิติการขนส่ง 9. สถิติการคมนาคม
การเปรียบเทียบการจัดประเภทสาขาสถิติ สำนักงานสถิติแห่งชาติ 23 สาขา ACC Programme Classification ด้านเศรษฐกิจ 8. สถิติการท่องเที่ยว 9. สถิติการเงิน การธนาคาร การประกันภัยและดุลการชำระเงิน 10. สถิติการคลัง 11. สถิติราคา 12. สถิติด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ สิทธิบัตร 13. สถิติด้านเศรษฐกิจอื่น ๆ ด้านเศรษฐกิจ 10. สถิติการท่องเที่ยว 12. สถิติการเงิน การธนาคาร การประกันภัย 14. สถิติดุลการชำระเงิน 13. สถิติการคลัง 15. สถิติราคา 16. สถิติด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ สิทธิบัตร 17. สถิติด้านเศรษฐกิจอื่น ๆ 11. สถิติการบริการซึ่งมิได้จัดไว้ในที่อื่น
การเปรียบเทียบการจัดประเภทสาขาสถิติ สำนักงานสถิติแห่งชาติ 23 สาขา ACC Programme Classification ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 1. สถิติด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. สถิติอุตุนิยมวิทยา ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 1. สถิติด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 2. สถิติด้านบัญชีทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 3. สถิติอุตุนิยมวิทยา
การจัดกลุ่มการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ กลุ่มที่ 1 สถิติแรงงาน สถิติสวัสดิการสังคม สถิติประชากรและเคหะ สถิติรายได้และรายจ่ายของครัวเรือน สถิติด้านสังคมประชากรศาสตร์และสถิติอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มที่ 2 สถิติสุขภาพ สถิติการศึกษา การฝึกอบรม ศาสนา และวัฒนธรรมรวมถึงสถิติสื่อสารมวลชน สถิติการท่องเที่ยว กลุ่มที่ 3 สถิติการเกษตร การป่าไม้และการประมง สถิติอุตุนิยมวิทยา สถิติทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลุ่มที่ 4 สถิติอุตสาหกรรมและเหมืองแร่ สถิติการขนส่ง สถิติคมนาคม สถิติด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิทธิบัตร สถิติพลังงาน กลุ่มที่ 5 สถิติการค้าส่ง ค้าปลีกและการค้าต่างประเทศ สถิติราคา สถิติการเงิน การธนาคารและการประกันภัยและดุลการชำระเงิน สถิติการคลัง สถิติบัญชีประชาชาติ และสถิติด้านเศรษฐกิจอื่นๆ กลุ่มที่ 6
ตารางเวลาการปฏิบัติงาน 1. สัมมนาเชิงปฏิบัติการผู้บริหารระดับสูง ระด้บกลางและคณะทำงานโครงการ CDP-SP ของสสช. ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 28-30 พ.ย.46 มี.ค.47 ก.ค. 47 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 2546 2547
ตารางเวลาการปฏิบัติงาน 2. สัมมนาเชิงปฏิบัติการระหว่างหน่วยสถิติของรัฐ กลุ่มแรงงานและ สวัสดิการสังคม 23 ธ.ค.46 เม.ย. 47 ด้านสังคม 3 มี.ค. 47 พ.ค. 47 - กลุ่ม 2 , กลุ่ม 3 ด้านเศรษฐกิจ 15 มี.ค. 47 มิ.ย.47 - กลุ่ม 4 , กลุ่ม 5 , กลุ่ม 6 ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 2546 2547
ตารางเวลาการปฏิบัติงาน 3. สรุปผลการจัดทำร่าง ผังรวมสถิติทุกสาขา 4. นำเสนอสรุปผลต่อ คณะกรรมการ CDP-SP ก.ค. 47 ส.ค. 47 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. 2547
การดำเนินการจัดทำผังรวมสถิติ ภายใต้โครงการ CDP-SP ระยะที่ 2 คณะกรรมการสถิติแห่งชาติ เสนอ ครม. ผังรวมสถิติ Data Directory Primary Data สำรวจ สำมะโน ทะเบียน เอกสาร/รายงาน สัมมนาเชิงปฏิบัติการ หน่วยสถิติ สสช.
แนวทางการใช้ผังรวมสถิติ ข้อมูลที่ต้องการเพิ่ม ข้อมูลที่มีอยู่ (Data Directory) เป็นข้อมูลที่ต่อเนื่อง และเฉพาะกิจที่สำคัญ ๆ ข้อมูลที่หน่วยงาน ผลิตเอง (ปฐมภูมิ) ไม่ใช่ข้อมูลวิจัย ข้อมูลใดบ้างที่จะทำ การเก็บรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูล ศึกษาหาแนวทางในการจัดเก็บข้อมูล จัดกลุ่มข้อมูล ในแต่ละสาขา ศึกษาและหาแนวทาง หน่วยงานใดเป็นแหล่งปฐมภูมิ ในการจัดทำข้อมูล หน่วยงานที่จัดทำข้อมูล
Data Directory หมายถึง รายการข้อมูล และแหล่งข้อมูล ที่มีอยู่ทั้งหมดในประเทศไทย เน้นข้อมูลปฐมภูมิ เริ่มแรกด้วย รายการข้อมูล ในอนาคตจะทำการ เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน
Directory…… แหล่งข้อมูล (หน่วยงาน /งาน /โครงการ) ชื่อเอกสาร/รายงาน/ทะเบียน/.... Content ต่าง ๆ รายการข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล วัตถุประสงค์ คำนิยาม ฯลฯ
Directory…… กรมการจัดหางาน สำนักงานประกันสังคม ทะเบียนตำแหน่งงานว่าง ทะเบียนผู้สมัครงาน ทะเบียนผู้บรรจุงาน สำนักงานประกันสังคม ทะเบียนผู้ประกันตน ทะเบียนผู้มีงานทำ
ความสำคัญของ Data Directory ให้ภาพรวมของแหล่งข้อมูลของประเทศไทย เป็นข้อมูลสำหรับทำ แผนแม่บทสถิติ และผังรวมสถิติ จุดเริ่มต้นในการให้บริการสืบค้นข้อมูล
ตัวอย่าง สาขาสถิติ แรงงาน กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาสถิติ แรงงาน กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรม สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนัก/ศูนย์/กองที่ปฏิบัติงานสถิติ สำนักสถิติเศรษฐกิจ และสังคม ผู้รับผิดชอบ นายอานนท์ จันทวิช โทรศัพท์ 02 2810333 ต่อ 1226 โทรสาร 02 2818617 E-mail address anonjun@nso.go.th
ตัวอย่าง 1. ชื่อข้อมูลที่จัดเก็บ / จัดทำ การสำรวจภาวะการ ทำงานของประชากร (สรง.) - รายการข้อมูลที่จัดเก็บ / จำแนก 1. ลักษณะทั่วไปของสมาชิกในครัวเรือน 2. ระดับการศึกษา 3. สถานภาพแรงงาน 3.1 การทำงาน 3.2 การว่างงาน 3.3 การอยู่นอกกำลังแรงงาน
ตัวอย่าง 2. ชื่อรายงานผลที่เผยแพร่ การสำรวจภาวะการทำงาน ของประชากร 2. ชื่อรายงานผลที่เผยแพร่ การสำรวจภาวะการทำงาน ของประชากร - รายการข้อมูลที่เผยแพร่ 1. จำนวนประชากร จำแนกตามสถานภาพแรงงาน อายุ เพศ 2. จำนวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จำแนกตาม ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส สถานภาพแรงงาน เพศ 3. สถานภาพแรงงาน 3.1 กำลังแรงงานในปัจจุบัน 3.1.1 ผู้มีงานทำ
ตัวอย่าง 3. วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจำนวน และลักษณะต่าง ๆของกำลังแรงงานของประเทศ สำหรับทำการประมาณการจำนวนและคุณลักษณะ ของกำลังแรงงานในระดับประเทศและระดับภูมิภาค ซึ่งข้อมูลสถิติที่ได้จากการสำรวจได้แก่ - จำนวนประชากรในวัยทำงาน (อายุ 15 ปีขึ้นไป)/จำนวน ประชากรนอกวัยทำงาน - จำนวนผู้มีงานทำ จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ที่สำเร็จ สถานภาพการทำงาน ชั่วโมงทำงาน ค่าจ้าง - จำนวนผู้ว่างงาน
ตัวอย่าง 4. วิธีการจัดทำ การสำรวจ (Sampling Survey) 5. ความถี่ในการจัดทำ ทุกเดือน 6. ปีที่เริ่มดำเนินการ พ.ศ. 2506 7. ปีล่าสุดที่จัดเก็บ พ.ศ. 2546 8. ระดับพื้นที่นำเสนอ รายจังหวัด และรายภาค ทั่วราชอาณาจักร 9. URL http://nso.go.th
ตัวอย่าง 10. คำนิยามที่สำคัญ ๆ - ผู้มีงานทำ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปและในสัปดาห์ แห่งการสำรวจมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 1. ได้ทำงานตั้งแต่ 1 ชั่วโมงขึ้นไป โดยได้รับค่าจ้าง เงินเดือน ผลกำไร เงินปันผล ค่าตอบแทนที่มีลักษณะอย่างอื่น สำหรับผลงาน ที่ทำเป็นเงินสดหรือสิ่งของ 2. ไม่ได้ทำงาน หรือ ทำงานน้อยกว่า 1 ชั่วโมง แต่เป็นบุคคล ที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 2.1 ยังไม่ได้รับค่าตอบแทน หรือผลประโยชน์อื่น ๆ หรือผลกำไรจาก งานหรือธุรกิจในระหว่างที่ไม่ได้ทำงานแต่ยังมีงานหรือธุรกิจที่ จะกลับไปทำ 2.2 ยังไม่ได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง หรือผลประโยชน์อื่น ๆ หรือ ผลกำไรจากงานหรือธุรกิจในระหว่างที่ไม่ได้ทำงานแต่ยังมีงาน หรือธุรกิจที่จะกลับไปทำ 3. ทำงานอย่างน้อย 1 ช.ม. โดยไม่ได้รับค่าจ้างในวิสาหกิจหรือไร่นาเกษตรของหัวหน้าครัวเรือนหรือของสมาชิกในครัวเรือน
แบบฟอร์มสำหรับการบันทึกข้อมูล การจัดทำผังรวมสถิติของประเทศ การจัดทำผังรวมสถิติของประเทศ สาขาสถิติ ………………………….......………………... กระทรวง …………………………....…………………… กรม …………………………………………………. สำนัก/ศูนย์/กองที่ปฏิบัติงานสถิติ..……………………. ผู้รับผิดชอบ ..…………………………………………... โทรศัพท์ ...……………. โทรสาร .....………..………… E-mail address .............................…………………
แบบฟอร์มสำหรับการบันทึกข้อมูล การจัดทำผังรวมสถิติของประเทศ การจัดทำผังรวมสถิติของประเทศ 1. ชื่อข้อมูลที่จัดเก็บ / จัดทำ........................………… - รายการข้อมูลที่จัดเก็บ / จำแนก ....................... ..................................................................... .................................................................... 2. ชื่อรายงานผลที่เผยแพร่ ...................................... - รายการข้อมูลที่เผยแพร่ ................................. ...................................................................
แบบฟอร์มสำหรับการบันทึกข้อมูล การจัดทำผังรวมสถิติของประเทศ การจัดทำผังรวมสถิติของประเทศ 3. วัตถุประสงค์..................................................... 4. วิธีการจัดทำ .................................................... 5. ความถี่ในการจัดทำ........................................... 6. ปีที่เริ่มดำเนินการ.............................................. 7. ปีล่าสุดที่จัดเก็บ ............................................... 8. ระดับพื้นที่นำเสนอ............................................ 9. URL http://................................................... 10. คำนิยามที่สำคัญ ๆ............................................
วิธีการจัดทำ ระเบียบวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้โดยทั่วไปมี 4 วิธี สำมะโน (Census) เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ทุกหน่วยที่จะเป็นผู้ให้ข้อมูลที่อยู่ใน กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการศึกษา เช่น สำมะโนการเกษตร ดำเนินการเก็บรวบรวมจากผู้ถือครองทำการเกษตรทุกคน ฯลฯ
วิธีการจัดทำ สำรวจ (Survey) หรือการสำรวจด้วยตัวอย่าง (Sampling Survey) ระเบียบวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้โดยทั่วไปมี 4 วิธี สำรวจ (Survey) หรือการสำรวจด้วยตัวอย่าง (Sampling Survey) เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการเลือกตัวอย่างจากหน่วยที่จะเป็นผู้ที่จะให้ข้อมูลขึ้นมาจำนวนหนึ่ง เพื่อสอบถามหรือเก็บข้อมูล ซึ่งในการสำรวจด้วยตัวอย่างนี้จะมีการกำหนดขนาดตัวอย่าง หน่วยตัวอย่าง ระเบียบวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนวิธีการประมาณผล
วิธีการจัดทำ ระเบียบวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้โดยทั่วไปมี 4 วิธี การเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงาน/เอกสารต่าง ๆ เป็นผลผลิตของงานบริหาร/การปฏิบัติงานที่หน่วยงาน ใช้เพื่อการบริหารงานภายใน ซึ่งรายงาน / เอกสารที่ใช้ใน การปฏิบัติงานเหล่านี้ อาจมีข้อมูลเบื้องต้นบางรายการที่สามารถนำมาประมวลเป็นข้อมูลสถิติได้ เช่น กรมศุลกากร ระบบการรายงานเกี่ยวกับการส่งสินค้าออกและสินค้านำเข้า ใบสำคัญหรือเอกสารที่ใช้ในการแจ้งการส่งออกและนำเข้านั้นซึ่งมีรายการเกี่ยวกับปริมาณสินค้าส่งออกและสินค้าเข้าที่สามารถนำมาประมวลผลเป็นข้อมูลสถิติการค้าระหว่างประเทศได้
วิธีการจัดทำ ระเบียบวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้โดยทั่วไปมี 4 วิธี การเก็บรวบรวมข้อมูลจากทะเบียน เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากระบบทะเบียนที่มีลักษณะคล้ายกับการรวบรวมข้อมูลจากรายงาน /เอกสาร ตรงที่เป็นผลผลิตของงานบริหาร/ปฏิบัติงาน แต่ต่างกันที่ข้อมูลเป็นข้อมูลที่นำมาจากเอกสารการทะเบียน ซึ่งเป็นระบบการเก็บข้อมูลที่มีความต่อเนื่องมีการปรับแก้หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขตามสถานภาพของผู้ให้ข้อมูล ข้อมูลที่เก็บโดยวิธีการทะเบียนนี้จะมีข้อมูลจำกัดตามข้อรายการที่มีอยู่ในทะเบียนเท่านั้น ระบบทะเบียน เป็นระบบข้อมูลที่ค่อนข้างใหญ่ มีพระราชบัญญัติ คุ้มครองหรือบังคับ ข้อมูลที่ได้จากทะเบียน
กรุณาส่งข้อมูลภายใน วันที่ 9 เมษายน 2547 ที่อยู่ : สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนักนโยบายและวิชาการสถิติ ถนนหลานหลวง เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กทม. 10100 โทรศัพท์ 02-2810333 ต่อ 1309,1310 โทรสาร 02-281-3814 E-mail address : knchalee@nso.go.th : umaporns@nso.go.th Download file Power point : http://www.nso.go.th