มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 DVD-R ถูกพัฒนาโดย pioneer  DVD+R ถูกพัฒนาโดย sony, hp, philip.
Advertisements

ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนผลงานวิชาการ
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
รายละเอียดของการทำ Logbook
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการเรียนรู้ CAI ชั้นอนุบาล 1 เรื่อง
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
แบบสำรวจสายตานักเรียนในโครงการแว่นสายตา
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
รายละเอียดของการทำ Logbook
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การกำหนดลักษณะของตัวอักษร
ตัวเลขไทย.
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การวางแผนและการดำเนินงาน
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
Tangram.
หลักเกณฑ์การอ่านแผนที่
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
การจัดกระทำข้อมูล.
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
โปรแกรม DeskTopAuthor

ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
ความรู้เกี่ยวกับจอ LCD ของ Notebook และเทคนิคการ เลือกซื้อ.
Flow Chart INT1103 Computer Programming
การแทรกรูปภาพ บนเว็บเพจ.
แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน
รายงานการศึกษาค้นคว้า
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้แผ่นพับ
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สมมติฐาน ตัวแปร.
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
การเขียนรายงาน.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี โดย แผนกวิชาช่างเขียนแบบเครื่องกล www.mechanicaldrafting.blogspot.com วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี

มาตราส่วน มาตราส่วนเป็นสัดส่วนของแบบงาน กับงานจริง เป็นการเขียนแบบที่ต้องใช้มาตราส่วนหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งต้องคำนึงถึงขนาด สัดส่วนของงานที่เขียนลงในแบบว่ามีความเหมาะสมของหน้ากระดาษเขียนแบบที่ใช้ ให้มีความสวยงามของแบบที่ออกมาเพียงไร ชิ้นส่วนของงานที่จะเขียนต้องมีความสมบูรณ์ และอ่านได้ชัดเจน

การใช้มาตราส่วนต่างๆ ในงานเขียนแบบมี อยู่ 3 ลักษณะ ดังนี้ มาตราส่วนปกติ (Full Scale) 1 : 1 มาตราส่วนย่อ (Brief Scale ) 1 : 2 , 1 : 5 , 1 : 10 , 1 : 100 , 1 : 200 ฯลฯ มาตราส่วนขยาย (Extended Scale) 2 : 1 , 5 : 1 , 10 : 1 ฯลฯ ความหมายของตัวเลขมาตราส่วน 1 : 2 , 2 : 1 หรือ 1 : 1 มีดังนี้ ตัวเลขหน้า หมายถึง ขนาดสัดส่วนที่ต้องเขียนลงในแบบงาน ตัวเลขหลัง หมายถึง ขนาดสัดส่วนจริงของชิ้นงาน

ตัวอย่าง

มาตราส่วน 1 : 1 (ขนาดจริง) มาตราส่วน 2 : 1 (ขยาย) มาตราส่วน 1 : 2 (ย่อ) มาตราส่วน 1 : 1 (ขนาดจริง) มาตราส่วน 1 : 3 (ย่อ) มาตราส่วน 3 : 1 (ขยาย) ขนาดงานจริง (บอกขนาด) ขนาดที่วัดได้จากแบบ

มาตราส่วน 1 : 1 (ขนาดจริง) ขนาดงานจริง (บอกขนาด) ขนาดที่วัดได้จากแบบ มาตราส่วน 1 : 1 (ขนาดจริง)

ขนาดงานจริง (บอกขนาด) ขนาดที่วัดได้จากแบบ มาตราส่วน 1 : 2 (ย่อ)

ขนาดงานจริง (บอกขนาด) ขนาดที่วัดได้จากแบบ มาตราส่วน 1 : 3 (ย่อ)

ขนาดงานจริง (บอกขนาด) ขนาดที่วัดได้จากแบบ มาตราส่วน 2 : 1 (ขยาย)

ขนาดงานจริง (บอกขนาด) ขนาดที่วัดได้จากแบบ มาตราส่วน 3 : 1 (ขยาย)

สรุป เรื่องมาตราส่วน มาตราส่วนย่อ ตัวเลขตัวหน้าจะน้อยกว่าตัวหลัง เช่น 1:2 หมายความว่า ขนาดของแบบงานเล็กกว่าขนาดงานจริง 2 เท่า มาตราส่วนขยาย ตัวเลขตัวหน้าจะมากกว่าตัวหลัง เช่น 2:1 หมายความว่า ขนาดของแบบงานใหญ่กว่าขนาดงานจริง 2 เท่า ถ้าตัวเลขตัวหน้าเท่ากับตัวหลัง เช่น 1:1 หมายความว่า ขนาดของแบบงานเท่ากับขนาดงานจริง ขนาดของมุมจะไม่มีการย่อและขยายมาตราส่วน การบอกขนาดนั้นต้องบอกขนาดเท่ากับขนาดของงาน ไม่ใช่ขนาดที่วัดได้จากแบบงาน