นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
Advertisements

แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การป้องกันควบคุมอหิวาตกโรค ระดับจังหวัด ของ
การระบาดของอหิวาตกโรคจังหวัดตาก
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
โครงการการวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลการตรวจวินิจฉัยเชื้อมาลาเรียโดยชุดน้ำยาสำเร็จรูปกับวิธีตรวจฟิล์มหนาในพื้นที่จังหวัดตาก น้องเลี้ยง นางสาวเสาวนีย์ ดีมูล.
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
กลวิธี 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
**************************************************
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศโรคเรื้อรัง
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
Revitalizing National Disease Control Program
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
ไข้เลือดออก.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
๑. เป้าหมายการอบรม ๑. เป็นการจัดการฐานข้อมูลสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Database Technology) ให้เกิดเอกภาพและทิศทางเดียวกัน ๒. เป็นการจัดการเครือข่ายฐานข้อมูลเทคโนโลยี
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
การวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อโรคเลปโตสไปโรซีส
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
แผน-ผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๓ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ ณ.
แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ (นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ) ณ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน.
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
วัน จันทร์ ที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๗
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ (นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ) ณ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน.
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก การศึกษาอัตราการติดเชื้อสครับไทฟัส และมิวรีนไทฟัส ในสัตว์พาหะนำโรคพื้นที่การระบาดของโรคสครับไทฟัส ปี ๒๕๕๓ ในพื้นที่เขตสาธารณสุข ๑๗ นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก

Overview ไรอ่อนที่ก่อโรค ตระกูล Leptotrombolidium L.deliense L.akamushi หมัดหนูที่เป็นพาหะของกาฬโรค และมิวรีนไทฟัส ตระกูล Xenopsylla X.cheopis

จังหวัดที่มีอัตราป่วยเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ อุตรดิตถ์ ตาก พิษณุโลก สถานการณ์โรคสครับ ไทฟัส ในพื้นที่ตรวจราชการสาธารณสุขที่ ๑๗ อัตราป่วยโรคสครับไทฟัส สคร.๙พิษณุโลก จำแนกรายปี จังหวัดที่มีอัตราป่วยเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ อุตรดิตถ์ ตาก พิษณุโลก - มค.- กย. ๒๕๕๓ จำนวน ๑๐๒๔ ราย เสียชีวิต ๓ ราย - สค.- กย. มีรายงานสูงกว่า ค่ามัธยฐาน และปี๒๕๕๒ ถึง ๒ เท่า อัตราป่วยโรคสครับไทฟัส สคร.๙พิษณุโลก ปี ๒๕๕๒และ๒๕๕๓ จำแนกรายจังหวัด

อุตรดิตถ์ พิษณุโลก ตาก อ.บ้านโคก อ.น้ำปาด จ.อุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก ตาก อ.ท่าสองยาง อ.แม่ระมาด อ.แม่สอด อ.พบพระ อ.อุ้มผาง จ.ตาก อ.ชาติตระการ อ.นครไทย อ.บางกระทุ่ม จ. พิษณุโลก เพชรบูรณ์

สถานการณ์โรคสครับ ไทฟัส ในพื้นที่ตรวจราชการสาธารณสุขที่ ๑๗ อุตรดิตถ์: บ้านโคก น้ำปาด แม่ระมาด ปี ๒๕๕๓ ไม่มีรายงาน ตาก:อัตราป่วยตาย ปี๒๕๕๓ ร้อยละ ๑.๘ บางกระทุ่ม:รายงานผู้ป่วยเสียชีวิต๑ราย ชาติตระการ: กย. ๙๑ ราย นครไทย:รายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ๒ราย และมีผู้ป่วยเป็น Cluster

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาชนิดของพาหะนำโรคในสัตว์นำโรคสครับไทฟัส เพื่อศึกษาอัตราการติดเชื้อโรคสครับไทฟัสและมิวรีนไทฟัสของสัตว์นำโรค ในพื้นที่การระบาดของโรคสครับไทฟัส

วิธีการศึกษา (1) รูปแบบการศึกษา การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey study) ประชากรกลุ่มเป้าหมาย สัตว์นำโรคสครับไทฟัส ได้แก่ หนู กระรอก กระแต จำนวนทั้งหมดที่ดักจับได้ สูตรคำนวณขนาดตัวอย่าง n=Zα2 p (1-p) / d2

วิธีการศึกษา (2) พื้นที่ศึกษา หรือดำเนินโครงการ พื้นที่ที่มีการระบาดของโรคสครับไทฟัส ปี ๒๕๕๓ จำนวน ๑๑ อำเภอ จาก ๓ จังหวัดคือ จังหวัดตาก อุตรดิตถ์ และ พิษณุโลก ซึ่งมีผลตรวจ Scrub Typhus positive ด้วยวิธี IFA (cut point ≥ ๕๐)

วิธีการศึกษา (3) วางกรงดักจับสัตว์นำโรคในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค วางยาสลบสัตว์ที่ดักได้ นับจำนวน แยกชนิด เพศ เจาะเลือดจากสัตว์นำโรค แคะไรอ่อน สางหมัด และเห็บจากสัตว์นำโรค

วิธีการศึกษา (4) แยกชนิดไรอ่อน หมัด และเห็บ นำส่งเลือดจากสัตว์นำโรคเพื่อตรวจหาเชื้อ สครับไทฟัสและมิวรีนไทฟัส โดยวิธี IFA ที่ AFRIMS วิเคราะห์ผลการติดเชื้อในสัตว์นำโรค เขียนรายงานการศึกษา นำเสนอผลการศึกษา

วิธีการศึกษา (5) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ๕ จังหวัด ในเขต สาธารณสุข ๑๗ สำนักโรคติดต่อทั่วไป สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร (AFRIMS) กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สคร.๙ พิษณุโลก กลุ่มโรคติดต่อทั่วไป สคร.๙ พิษณุโลก

วิธีการศึกษา (6) แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Epi Info สถิติ ที่ใช้ ร้อยละ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ทราบความชุกของสัตว์นำโรคในพื้นที่ระบาดโรคสครับไทฟัส เป็นแนวทางในการกำหนดมาตรการป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคสครับไทฟัส และมิวรีนไทฟัส

ระยะเวลาที่ศึกษา มกราคม ถึง มิถุนายน ๒๕๕๔

งบประมาณและแหล่งทุน งบประมาณ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าเหยื่อสำหรับดักจับหนู ค่าตรวจวิเคราะห์เชื้อสครับไทฟัส และมิวรีนไทฟัส แหล่งทุน กรมควบคุมโรค (กรณีมีงบสนับสนุน)

ทีมงาน น้องเลี้ยงพี่เลี้ยงที่ปรึกษา พี่เลี้ยงที่ปรึกษา สำนักโรคติดต่อทั่วไป อ.อัญชนา ประศาสน์วิทย์ ทีมงานน้องเลี้ยง นายนที ประสิทธิ์เขตกิจ นายสมนึก ดอนหัวรอ นายคำพล แสงแก้ว นายสมชาย แซ่ท่อ นางสาวเยาวลักษณ์ โตอินทร์ นางสาวธนัญญา สุทธวงค์