ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ การพ่นสารเคมี ระบบ Space Spray ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการพ่นสารเคมี ULV/FOGGING ขนาดเม็ดน้ำยา จำนวนเม็ดน้ำยา ประสิทธิภาพสารเคมี เครื่องพ่นสารเคมี ชนิด/ขนาดแมลงพาหะ ความไวต่อสารเคมี เวลาหากินซึ่งมีผลต่อการสัมผัสละอองสารเคมี % ตายของแมลง โอกาสที่สารเคมีถูกแมลง สภาพแวดล้อม - ทิศทางความเร็วลม - อุณหภูมิ ประสิทธิผลในการลดการระบาดของโรค
ระยะพ่นสารเคมีของเครื่องพ่น ULV/ SWINGFOG ≥ 100 เมตร เมล็ดเล็กมากลอยหายไป คลุมพื้นที่ได้ นานนับชั่วโมง ปริมาณสารเคมีที่ใช้พ่น ULV 0.5-1.0 ลิตร/10.000 ตรม. FOG 3-5 ลิตร/10.000 ตรม. เมล็ดใหญ่ยิ่งตกเร็ว
ค่าเฉลี่ยขนาดเม็ดน้ำยา การหาค่า MND (Medium Number Diameter) 100 50 MND VMD (Volume Medium Diameter) 1 + 2 + 3 90 .99 + 100 Vol X Vol X 90 VMD
หลักการทำงานเครื่องพ่นหมอกควัน 600/550 º C 1000/1100º C 900 º C 800 º C 700 º C 50/60 º C อุณหภูมิในเครื่องพ่นหมอกควัน SWINGFOG ห้องเผาไหม้
Operating Principle of ULV Wind speed > 150 m/s ULV < 100 m/s LV
Relationships of droplet size and amount of droplets
ข้อดี-ข้อเสีย ของการพ่นหมอกควัน 1. อัตราการพ่นสูง ใช้เวลาสั้น 2 หมอกควันหนา เห็นได้ง่าย 3. ตรวจสอบความครอบคลุมของทิศทาง การพ่นได้ 4. ใช้สารเคมีที่มีความเข้มข้นต่ำ 5. มีผลทางจิตวิทยา เพราะเห็นควันที่พ่น 6. ประชาชนหลบหลีกจากหมอกควันได้ 1. ใช้สารตัวทำละลายมาก อาจสิ้นเปลือง 2. มีกลิ่นของสารตัวทำละลาย 3. มีผลต่อการมองเห็นและการจราจร 4. เสียงเครื่องยนต์ดังรบกวน 5. การปฎิบัติงานต้องใช้คนที่มีความรู้ พอสมควร
ข้อดี-ข้อเสีย ของการพ่น ULV 1. ไม่มีผลกระทบต่อการมองเห็น และการจราจร 2. ลดความสิ้นเปลืองสารตัวทะละลาย 3. ใช้ปริมาณน้ำยาพ่นน้อย แต่มีคุณภาพสูง ในการกำจัดแมลง 4. ไม่มีกลิ่นจากสารตัวทำละลายหรือ หากมีก็ น้อยมาก 5. เสียงเครื่องยนต์ไม่ดังนัก 1. อัตราพ่นน้ำยาต่ำ จึงสิ้นเปลืองเวลากว่า 2. มองไม่เห็นน้ำยาที่พ่น ทำให้ยากแก่การ สังเกตทิศทางและระยะการพ่น 3. โอกาสที่คนจะได้สัมผัสสารเคมีสูง เพราะประชาชนไม่เห็นละอองน้ำยา 4. ผลทางจิตวิทยาไม่ดี เพราะประชาชน ไม่เห็นละอองน้ำยา 5. ใช้สารเคมีที่มีความเข้มข้นสูง
การพ่นสารเคมี ULV / หมอกควันในอาคาร พ่นได้ตลอดเวลาหากินของแมลงพาหะ
การพ่นสารเคมี ULV / หมอกควันในพื้นที่โล่งแจ้ง ความเร็วลม < 8 กม./ชม. พ่นตามลม เวลาหากินของแมลงพาหะ
ระยะหวังผลในการพ่นสารเคมีกำจัดแมลงด้วยเครื่องพ่น ความเร็วลม ระดับ การสังเกต ความเร็วลม ระยะหวังผล กม./ชม. ULV/ ULVPLUS / LV 0 ลมสงบ ควันลอยตรง < 1 25-50 20-40 15-30 1 ลมเฉื่อย ควันลอยทแยง 1-5 35-70 25-50 20-40 2 ลมพัด ใบไม้ไหว 6-12 50-100 35-70 25-50 3 ลมพัดแรง กิ่งไม้ไหว 13-20 75-150 50-100 30-60 4 ลมแรงจัด กิ่งไม้แกว่งไหว > 20 ไม่ควรปฏิบัติงาน
การคำนวณอัตราการพ่นสารเคมีในพื้นที่ เครื่องพ่นแบบติดตั้งบนรถยนต์ 1. ความเร็วรถพ่น กิโลเมตร/ชั่วโมง 2. ระยะที่ละอองสารเคมีคลุมพื้นที่ 3. ปริมาณสารเคมีที่ใช้พ่น ลิตร/10,000 ตารางเมตร ความเร็วรถ (1) X ระยะคลุมพื้นที่ (2) X ปริมาณสารเคมีที่ใช้พ่น (3) อัตราการไหลสารเคมีที่เครื่องพ่นต้องพ่น
ตัวอย่าง ความเร็วรถ 10 กม./ชม. = 10,000 ม./ชม. ระยะหวังผล 50 เมตร ความเร็วรถ 10 กม./ชม. = 10,000 ม./ชม. ระยะหวังผล 50 เมตร อัตราการใช้ 0.5 ลิตร/10,000 ตารางเมตร อัตราการไหลเครื่องพ่น = (10 x 1,000 m) x 50 (m x 0.5 ) h x 10,000 m2 = 25 ลิตร/ชั่วโมง
การคำนวณหาความเร็วรถ 1. พื้นที่เป้าหมาย ตารางเมตร 2. อัตราการพ่นของเครื่องพ่น ลิตร/ชั่วโมง 3. อัตราการใช้สารเคมีในพื้นที่ ลิตร/10,000 ตารางเมตร 4. ระยะที่ละอองสารเคมีคลุมพื้นที่ เมตร ความเร็วรถพ่น = พื้นที่ (1) × อัตราพ่น (2) อัตราใช้ (3) × ระยะ (4)
ตัวอย่าง พื้นที่ 10,000 ตารางเมตร อัตราพ่น 25 ลิตร/ชั่วโมง พื้นที่ 10,000 ตารางเมตร อัตราพ่น 25 ลิตร/ชั่วโมง อัตราใช้ 0.5 ลิตร/10,000 ตารางเมตร ระยะคลุมพื้นที่ 50 เมตร ความเร็วรถ = 10,000 m2 × 25 l. 0.5 l × 50 m/h = 250,000 m. = 25 h = 10,000 m/h = 10 กม./ชม.
เครื่องพ่นแบบคนหิ้ว/สะพาย หมอกควัน (อัตราการใช้ 5-10 ลิตร/10,000 ตารางเมตร) พื้นที่พ่นในบ้าน ตารางเมตร ปริมาณสารเคมีที่ใช้ ลิตร/10,000 ตารางเมตร
พ่นในบ้าน บ้านพื้นที่ = 100 ตารางเมตร ปริมาณสารเคมีที่ใช้ = 10 ลิตร/10,000 ตารางเมตร = 10 × 1,000 cc./10,000 ตารางเมตร = 1 cc. / 1 ตารางเมตร บ้าน 100 ตารางเมตร พ่นหมอกควัน 100 cc.
หากเป็น ULV ปริมาณสารเคมีที่ใช้ = 0.5 - 1.0 ลิตร/10,000 ตารางเมตร = 500 – 1,000 cc./10,000 ตารางเมตร = 0.05 – 0.1 cc./1 ตารางเมตร บ้าน 100 ตารางเมตรพ่น ULV = 0.05 × 100 = 5 cc. หรือ = 0.1 × 100 = 10 cc.