สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM) และ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ รายประเด็นโรค (Strategic Linkage Model : SLM) สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2553

ผังจุดหมายปลายทาง การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ภายในปี 2563 (ระยะเวลา 10 ปี) เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่ และ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชน ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ชุมชน มีการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุม โรคติดต่ออุบัติใหม่ ชุมชน เป็นเจ้าของโครงการ แก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ ชุมชน มีและใช้มาตรการทางสังคม ในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ ชุมชน มีการเตรียมพร้อม รับภาวะฉุกเฉินจากโรคติดต่อ อุบัติใหม่ ชุมชน มีการผลิตวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันร่างกายใช้เอง ในชุมชน ชุมชน มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพ ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) อปท. เป็นแกนหลักในการสนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานและร่วมการตัดสินใจในชุมชน อสม. เป็นแกนนำการขับเคลื่อนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ในชุมชนตามบทบาทหน้าที่ รัฐวิสาหกิจ องค์กรภาคเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอก ประเทศ มีส่วนร่วมสนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร หน่วยภาครัฐอื่น นอกกระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนการ บูรณาการยุทธศาสตร์ และมาตรการแปลงสูการปฏิบัติได้ อย่างเหมาะสมตามบทบาทหน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นแกนหลักในการ สนับสนุนวิชาการ การประสานงาน และการปฏิบัติได้อย่างรวดเร็ว และเหมาะสม ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงการบริหารจัดการ) มีการจัดการความรู้ สร้างและถ่ายทอดนวัตกรรมให้เครือข่าย นำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกระดับ มีการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบงานข่าวกรองที่ครอบคลุม เครือข่ายและประชาชน มีการจัดทำระบบการติดตามประเมินผล โรคติดต่ออุบัติใหม่ ตามมาตรฐาน ให้เครือข่ายนำปรับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่าย ได้ตามมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ มีการจัดระบบการสนับสนุน เครือข่ายในการจัดรณรงค์ โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่มีประสิทธิภาพ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) มีข้อมูล สารสนเทศ ที่ครอบคลุม ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อมโยง และ เป็นปัจจุบัน บุคลากร และ แกนนำ มีสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ตามบทบาทหน้าที่ที่องค์กรกำหนด ทีมงานในองค์กร มีคุณลักษณะที่เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงาน และ มีระบบแรงจูงใจที่ดี ภ 2

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) งานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2553 (ร่วมกับเป้าประสงค์) ประชาชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง ในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ ชุมชนสามารถผลิต วัสดุ อุปกรณ์ ป้องกันร่างกาย ใช้เองในชุมชน ชุมชน มีและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ไขปัญหา ชุมชนสามารถเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉินจากโรคฯ ชุมชน สามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคฯ ชุมชนสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพ ประชาชนสามารถดูแล สุขภาพได้ด้วยตนเอง ชุมชนมีโครงการ แก้ไขปัญหา โรคฯ ของชุมชน ประชาชน อปท. มีบทบาท เป็นแกนหลักในการสนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงาน และร่วมการตัดสินใจในชุมชน หน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีบทบาทเป็นแกนหลัก สนับสนุนวิชาการ การประสานงาน และ การปฏิบัติ ได้อย่างรวดเร็ว และเหมาะสม หน่วยงานภาครัฐอื่น นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม สนับสนุนการบูรณาการยุทธศาสตร์และมาตรการสู่การปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม อสม. มีบทบาท เป็นแกนนำ ขับเคลื่อนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในชุมชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร ภาคี มีระบบการจัดสรรทรัพยากรและเครือข่าย ตามมาตรฐาน ที่มีประสิทธิภาพ มีระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบงานข่าวกรอง ที่ครอบคลุมเครือข่ายและประชาชน มีระบบการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการสนับสนุนเครือข่าย ในการจัดรณรงค์ที่มีประสิทธิภาพ จัดการความรู้ สร้างและถ่ายทอดนวัตกรรมให้เครือข่ายทุกระดับ กระบวนการ ข้อมูล สารสนเทศ มีคุณภาพ ครอบคลุม ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อมโยง และเป็นปัจจุบัน บุคลากร แกนนำ มีสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าที่ที่องค์กรกำหนด ทีมงานในองค์กร มีคุณลักษณะทีเอื้อต่อการปฏิบัติงาน และมีระบบแรงจูงใจที่ดี พื้นฐาน 3

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) งานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2553 ชุมชน มีและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ไขปัญหา ส่งเสริม การจัดเวทีสมัชชาสุขภาพ ส่งเสริม การสร้างและใช้มาตรการ เพื่อควบคุมพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในชุมชน ส่งเสริมการสร้างและใช้มาตรการเพี่อการสร้างพฤติกรรมที่ถูกต้องในชุมชน ชุมชนสามารถเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉินจากโรคฯ ส่งเสริม ศักยภาพแกนนำ ในการเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ ในชุมชน ส่งเสริม การมีส่วนร่วมการเตรียมความพร้อมและจัดการภาวะฉุกเฉินจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ ในชุมชน ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการ จัดการภาวะฉุกเฉินจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ ในชุมชน ชุมชน สามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคฯ ส่งเสริม สนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ พัฒนา ระบบการติดตามประเมินผลเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ส่งเสริม การสร้างแกนนำให้สนับสนุนการเฝ้าระวังโรค ประชาชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง ในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ ส่งเสริม การสร้างนโยบายสาธารณะในการจัดสุขภาพที่ดีครอบคลุมและเหมาะสม ปลูกฝังจิตสำนึกการดูแลสุขภาพและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพอย่างที่ดี เสริมสร้างศักยภาพของประชาชน ในการดูแลสุขภาพที่ดีและเหมาะสม ประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง ส่งเสริม นโยบายสาธารณะในการสร้างสุขภาพ พัฒนาความรู้ทักษะในการดูแลสุขภาพ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการสุขภาพ ชุมชนมีโครงการ แก้ไขปัญหา โรคฯ ของชุมชน พัฒนา ศักยภาพแกนนำ ในการปรับใช้ยุทธศาสตร์งานโรคติดต่ออุบัติใหม่ พัฒนา ศักยภาพการจัดทำแผนงาน/โครงการของชุมชนในโรคติดต่ออุบัติใหม่ ส่งเสริม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนงาน/โครงการ ชุมชนสามารถผลิต วัสดุ อุปกรณ์ ป้องกันร่างกาย ใช้เองในชุมชน ส่งเสริม การผลิตวัสดุอุปกรณ์ป้องกันร่างกายใช้เองในชุมชน ส่งเสริมและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้การผลิตวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันร่างกายใช้เองในชุมชน ส่งเสริม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การผลิตวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันร่างกายใช้เอง ในชุมชน ชุมชนสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพ ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพของชุมชน ส่งเสริมและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชน อปท. มีบทบาท เป็นแกนหลักในการสนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงาน และร่วมการตัดสินใจในชุมชน ส่งเสริม การจัดทำแผนงานโครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรในชุมชน สร้างเครือข่ายความร่วมมือการประสานงานด้านวิชาการและการจัดการทรัพยากร พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรและกองทุนสุขภาพตำบลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนา กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรการทางสังคมในชุมชน หน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีบทบาทเป็นแกนหลัก สนับสนุนวิชาการ การประสานงาน และ การปฏิบัติ ได้อย่างรวดเร็ว และเหมาะสม สนับสนุนวิชาการในงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมและสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ พัฒนามาตรการแนวทางที่เอื้อต่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ หน่วยงานภาครัฐอื่น นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม สนับสนุนการบูรณาการยุทธศาสตร์และมาตรการสู่การปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม สนับสนุนการจัดทำแผนงานหรือข้อตกลงระหว่างองค์กรเครือข่ายสุขภาพทั้งในและระหว่างประเทศ ส่งเสริมและสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ พัฒนากฎ ระเบียบข้อบังคับ มาตรการแนวทางที่เอื้อต่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อสม. มีบทบาทเป็นแกนนำ ขับเคลื่อนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในชุมชน พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ สร้างแรงจูงใจการมีส่วนร่วมสนับสนุนงานชุมชน ส่งเสริมความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพชุมชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร ส่งเสริม การใช้ยุทธศาสตร์งานโรคติดต่ออุบัติใหม่ในการจัดการทรัพยากร ส่งเสริมความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างรัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ สนับสนุนวิชาการเทคโนโลยี สารสนเทศในงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ทีมีประสิทธิภาพ ภาคี จัดการความรู้ สร้างและถ่ายทอดนวัตกรรมให้เครือข่ายทุกระดับ ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างและถ่ายทอดนวัตกรรม พัฒนา ศูนย์การเรียนรู้ การถ่ายทอดนวัตกรรม สร้างและพัฒนามาตรฐาน คู่มือ แนวทางและจัดการบัญชีนวัตกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ มีระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบงานข่าวกรอง ที่ครอบคลุมเครือข่ายและประชาชน ส่งเสริมสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร พัฒนาช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมเครือข่ายและประชาชน พัฒนาระบบการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ สร้างและพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลคุณภาพการเตรียมพร้อมโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริม มาตรการและกระบวนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการสร้างมาตรการจูงใจที่เชื่อมโยงกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน มีระบบการจัดสรรทรัพยากรและเครือข่ายตามมาตรฐาน ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน ของการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริม กระบวนการกระจายไปยังสถานพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมมาตรการและกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากร ที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการสนับสนุนเครือข่าย ในการจัดรณรงค์ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนา สื่อต้นแบบการรณรงค์โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนา รูปแบบการจัดการรณรงค์เพื่อจูงใจให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในโรคิดต่ออุบิติใหม่ กระบวนการ ข้อมูล สารสนเทศ มีคุณภาพ ครอบคลุม ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อมโยง และเป็นปัจจุบัน พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ ด้านการจัดการข้อมูลและระบบสารสนเทศ พัฒนาฐานข้อมูล ให้สามารถสืบค้นได้ง่าย ถูกต้องครอบคลุมและเป็นปัจจุบัน พัฒนาศูนย์รวมข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศขององค์กร บุคลากร แกนนำ มีสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าที่ที่องค์กรกำหนด พัฒนาสมรรถนะบุคลากรในการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ สร้างเสริม ความรู้ ประสบการณ์ และฝึกทักษะ - การเป็นวิทยากร ,การจัดการเครือข่าย - การสื่อสาร, การบริหารจัดการ ทรัพยากรและกระบวนการ - การประเมินผล พัฒนาสมรรถนะหลัก ตามค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร ทีมงานในองค์กรมีคุณลักษณะที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน และมีระบบแรงจูงใจที่ดี สนับสนุนให้มีหน่วยประสานงานเครือข่ายและองค์กรทุกระดับ ส่งเสริมการสร้างสมรรถนะหลัก แรงจูงใจ ตามค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร สร้างบรรยากาศการทำงานเป็นทีมและความผาสุกในการปฏิบัติงาน พื้นฐาน 4

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) งานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2553 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชน โดยชุมชน ประชาชน ชุมชน สามารถเฝ้าระวังและเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉิน อปท. เป็นแกนหลักสนับสนุนร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนการดำเนินงานและร่วมตัดสินใจ กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่ มีส่วนร่วม หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบข้อมูลสารสนเทศ งานข่าวกรอง มีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ และเป็นจริง พื้นฐาน บุคลากร มีสมรรถนะที่เหมาะสม