เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
คำสำคัญ (Keywords) ที่แสดง คุณภาพ ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โดยหน่วยงานต้น สังกัด สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม.35.
ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การใช้คลิปวีดิทัศน์ในการจัดการความรู้ ในงานห้องสมุด : กรณีศึกษา มทรอ.
การศึกษาแบบพี่สอนน้อง (Teen as Teachers)
วิธีการทางวิทยาการระบาด
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
๑. ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน -
โครงการส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นปี ๒๕๕๓
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
**************************************************
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ผลการสัมมนากลุ่มย่อย
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
กลุ่มที่ ๒ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
๒. แผนอาชีวเวชศาสตร์ใน ทร.
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
Revitalizing National Disease Control Program
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
ไข้เลือดออก.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
๑. เป้าหมายการอบรม ๑. เป็นการจัดการฐานข้อมูลสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Database Technology) ให้เกิดเอกภาพและทิศทางเดียวกัน ๒. เป็นการจัดการเครือข่ายฐานข้อมูลเทคโนโลยี
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
ข้อที่ คำถาม คำตอบ ๑ คิดอย่างไรถึงมาเลี้ยง กุ้งขาว เป็นอาชีพที่ทำกันมานานและ เป็นการทำรายได้มหาศาล ปัจจุบันจะเลี้ยงยาก ๒ในการขุดบ่อควร คำนึงถึงพื้นที่บริเวณใด.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
การปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยทักษิณ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และระเบียบอื่นที่เกี่ยวเนื่อง นายธานินทร์ เงินถาวร งานบริการการศึกษา.
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ โครงการ ระบาดวิทยาวัณโรคในผู้ต้องขัง กับการป้องกันควบคุมวัณโรค พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ

ความเป็นมา วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อที่กลับมาเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศในภูมิภาคต่างๆของโลกในปัจจุบันโดยเฉพาะในประเทศไทย และปัญหาวัณโรคยิ่งรุนแรงมากขึ้น ในสถานการณ์แพร่ระบาดของการติดเชื้อเอดส์ ทำให้ต้องมีมาตรการควบคุมวัณโรคทุกกลุ่มให้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้ต้องขังของเรือนจำ เพราะมีอัตราป่วยที่สูงกว่าประชาชนทั่วไปถึง ๓๖ เท่า เนื่องจากมีการแพร่กระจายติดต่อกันเองระหว่างผู้ต้องขัง เพราะผู้ต้องขังต้องอยู่อย่างแออัด การหมุนเวียนระบายอากาศได้น้อย ประกอบกับผู้ต้องขังมีปัจจัยเสี่ยง ต่อการติดเชื้อวัณโรคได้ง่าย เช่น มีการติดเชื้อเอดส์ ภาวะทุพโภชนาการ เป็นต้น อีกทั้งการดำเนินงานวัณโรคให้มีความสำเร็จ ยังขึ้นกับการให้ความสำคัญเชิงนโยบายในการควบคุมวัณโรคในเรือนจำ มีการแยกผู้ป่วยระยะแพร่เชื้อ การทำ DOT ตลอดจนการจัดทำทะเบียนวัณโรคอย่างต่อเนื่องในทุกเรือนจำ

ความเป็นมา (ต่อ) แต่ปัญหาวัณโรคในเรือนจำที่สำคัญ คือ การพ้นโทษก่อนครบกำหนดการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำ ซึ่งสูงถึงร้อยละ ๘ อัตราการเข้าถึงยาต้านไวรัสในผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อ HIV ร่วมด้วย ซึ่งพบว่าต่ำกว่าเป้าหมายของประเทศ การตรวจเพื่อวินิจฉัยวัณโรคในเรือนจำบางส่วนเข้าถึงการรักษาล่าช้า และการส่งรายงานไม่ครบถ้วน ตรงเวลา ทำให้สถานการณ์วัณโรคในเรือนจำคลาดเคลื่อน ไม่สะท้อนสภาพปัญหาอย่างแท้จริง ดังนั้น การศึกษาระบาดวิทยาและการควบคุมวัณโรคในเรือนจำ จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนารูปแบบการดำเนินการควบคุมวัณโรคในเรือนจำที่มีประสิทธิภาพ

คำถามการวิจัย ระบาดวิทยาวัณโรคในผู้ต้องขังและการควบคุมป้องกันในเรือนจำ พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ เป็นอย่างไร

วัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์วัณโรคในเรือนจำ พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ เพื่อศึกษาการดำเนินงานควบคุมป้องกันวัณโรคในเรือนจำ พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ

วิธีการศึกษา (๑) รูปแบบการศึกษา เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจในเรือนจำ จำนวน ๑๑ แห่ง ในพื้นที่รับผิดชอบสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ โดยศึกษาข้อมูลทางระบาดวิทยา และวิธีการดำเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรค เก็บข้อมูลระหว่าง ม.ค.-มี.ค. 54

วิธีการศึกษา (๒) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มประชากร เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานวัณโรคในเรือนจำ ผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำ กลุ่มตัวอย่าง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานวัณโรคในเรือนจำทุกคน ผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำทุกคน

วิธีการศึกษา (๓) แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เกี่ยวกับอัตราป่วย ความชุก อัตราตาย อัตราการโอนออกและอัตราการเปลี่ยนของผลเสมหะจากบวกเป็นลบเมื่อสิ้นสุดระยะเข้มข้น ใน New M+

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การนำผลไปใช้ประโยชน์ ผลที่ได้จากการวิจัยสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการควบคุมป้องกันและพัฒนาปรับปรุงรูปแบบการควบคุมวัณโรคในเรือนจำให้มีประสิทธิภาพต่อไป

ระยะเวลาที่ศึกษา ธันวาคม ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔

งบประมาณและแหล่งทุน ๑. ค่าใช้จ่ายในการออกปฏิบัติงานประสานงานโครงการ - ค่าเบี้ยเลี้ยง ๔ คน × ๒๑๐ บาท × ๖ วัน = ๕,๐๔๐ บาท - ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ๖ วัน × ๕๐๐ บาท = ๓,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๘,๐๔๐ บาท ๒. ค่าใช้จ่ายในการออกปฏิบัติงานเก็บข้อมูลครั้งที่ ๑ ๓. ค่าใช้จ่ายในการออกปฏิบัติงานเก็บข้อมูลครั้งที่ ๒ ๔. ค่าใช้จ่ายในการตอบแบบสัมภาษณ์ จำนวน ๒๕ บาท × ๓๐๐ คน = ๗,๕๐๐ บาท ๕. ค่าอุปกรณ์แจกผู้ป่วยวัณโรค จำนวน ๑๒๐ บาท × ๓๐๐ คน = ๓๖,๐๐๐ บาท ๖. ค่าจ้างพิมพ์ หน้าละ ๒๐ บาท × ๑๐๐ หน้า = ๒,๐๐๐ บาท ๗. ค่าจัดทำเล่ม เล่มละ ๑๐๐ บาท × ๓๐ เล่ม = ๓,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๗๒,๖๒๐ บาท

ทีมงาน ที่ปรึกษา นายแพทย์วิทยา หลิวเสรี ผอ.สคร.ที่ ๑ กรุงเทพฯ นายแพทย์วิทยา หลิวเสรี ผอ.สคร.ที่ ๑ กรุงเทพฯ นางฤทัยวรรณ์ บุญเป็นเดช หัวหน้างานวัณโรค สคร.ที่ ๑ กรุงเทพฯ

ทีมงานผู้ร่วมวิจัย นางธัญญา รอดสุข สคร.ที่ ๑ กรุงเทพฯ นางธัญญา รอดสุข สคร.ที่ ๑ กรุงเทพฯ นางธัญวัลย์ นันทดิลกวริทธิ์ สคร.ที่ ๑ กรุงเทพฯ นางสาวพรหมพร จำปาทอง สคร.ที่ ๑ กรุงเทพฯ นางปิยานุช มีมงคลดิลกกุล สคร.ที่ ๑ กรุงเทพฯ เจ้าหน้าที่รับผิดชอบเรือนจำ พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ ๑๑ แห่ง