อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
 ใช้กำกับการดำเนินงาน  กำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูล  รักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล  ใช้ติดตามสถานการณ์ความผิดปกติร่วมกัน ระหว่างเครือข่าย.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์ การสนับสนุนทางระบาดวิทยา อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์

นิยาม อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ “อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์

กรอบแนวคิดคุณลักษณะอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ๕. มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรค ๓ การวางแผนงาน - แผนงาน/ปฏิทินปฏิบัติการรณรงค์ในภาวะปกติ - แผนงานรับภาวะฉุกเฉิน - ทบทวนประเมินผลเพื่อกำหนดแผนปีถัดไป SRRT และเครือข่าย ๔. การระดมทรัพยากร ๑. คณะกรรมการ ๒. ระบบระบาดวิทยาที่ดี

๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดี ๒.๑ มีระบบข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยาที่ดี ๒.๒ มีทีม SRRT ที่มีประสิทธิภาพ ระดับอำเภอ ระดับตำบล ๒.๓ โรงพยาบาลชุมชนมีห้องปฏิบัติการ ตรวจ วินิจฉัยโรคติดต่อที่สำคัญ

๒.๑ ระบบข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยาที่ดี มีการมอบหมายให้มีบุคลากรรับผิดชอบเรื่องการเฝ้าระวังโรค และ บุคลดังกล่าวผ่านการอบรมเบื้องต้นตามที่จังหวัดกำหนด มีรายงานการเกิดโรคที่สำคัญของพื้นที่และของประเทศ จากโรงพยาบาล รพ.สต. และสถานีอนามัย ครบถ้วน ทันเวลา

http://www.boe.moph.go.th

http://epid.moph.go.th/SrrtSubNetwork/

๒.๑ ระบบข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยาที่ดี ใช้เทคโนโลยี/คอมพิวเตอร์และมีการวิเคราะห์ข้อมูลและมีการนำเสนอข้อมูลให้คณะกรรมการสม่ำเสมอ ตรวจจับเหตุการณ์ความผิดปกติที่ต้องดำเนินการสอบสวนหรือควบคุมโรค โครงการการพัฒนาศักยภาพทีม SRRT ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเพื่อสนับสนุนอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน วันที่ 24 – 25 มกราคม 2554

๒.๒ ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว SRRT ระดับอำเภอ มีทีม SRRT อย่างน้อย 1 ทีม ทีม SRRT มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน โครงการสนับสนุนการสอบสวนโรค โครงการประชุมการพัฒนาเครือข่ายเพื่อสนับสนุนการพัฒนาอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน มี.ค. 54 โครงการประชุมติดตามการดำเนินงานพัฒนาอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน เม.ย. 54, มิ.ย. 54 โครงการพัฒนาคุณภาพการสอบสวนโรคเพื่อสนับสนุนการพัฒนาอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน สค. 54

๒.๒ ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว SRRT ระดับตำบล เครือข่าย SRRT ระดับตำบล ครบทุก รพสต. หัวหน้า เครือข่าย SRRT ระดับตำบล ผ่านการฝึกอบรมเบื้องต้น มีงบฯ ยานพาหนะและสิ่งสนับสนุน สำหรับการปฏิบัติการในและนอกเวลาราชการ เครือข่าย SRRT ตรวจสอบ/แจ้งเหตุสงสัยการระบาด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โครงการประชุมเตรียมความพร้อมวิทยากรในการสนับสนุนการพัฒนาอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน พย. 53

๒.๓ โรงพยาบาลมีห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อที่สำคัญ ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลผ่านการประเมินตามมาตรฐาน ห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลชุมชน สามารถตรวจ/นำส่ง สิ่งตรวจจาก ผู้ป่วย อาหาร/ สิ่งแวดล้อมชีววัตถุ ไปยังห้องปฏิบัติการมาตรฐานใน กรณีที่จำเป็น ห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลมีการแจ้งเหตุสงสัยหรือความผิดปกติให้ SRRT ระดับอำเภอทราบอย่างน้อยปีละ 1 เหตุการณ์ โรงพยาบาลมีการสนับสนุนการตรวจสิ่งส่งตรวจเบื้องต้นจากทีม SRRT อย่างน้อย 1 ครั้ง

ขอบคุณครับ