เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1. แผนงาน PP จังหวัด ยังไม่ ตอบสนองปัญหาจริงของ จังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนที่ ชัดเจน และการใช้แผน แตกต่างกันมาก 2. การดำเนินงานจริง ไม่อิง ยุทธศาสตร์ /
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ข้อเสนอ เพื่อการบริหารงานสาธารณสุข สู่ความเป็นเลิศด้านสุขภาพ กลุ่มนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด 27 ตุลาคม 2551.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติราชการปี 2553
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค สรุปผลการติดตามประเมินผล งานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ปี 2553 และแนวทางการดำเนินงาน ปี 2554 พรทิพย์ ศิริภานุมาศ เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค วันที่ 19 เมษายน 2554 เวลา 9.00 - 12.00 น. ณ ห้องประชุมประเมินจันทวิมล กรมควบคุมโรค

การมีส่วนร่วมของหน่วยงาน ปี 2551 - 2554 เจ้าภาพ 2551 คร. / อ / สนย. / สน.ตรวจ / สปสช. คร. 2552 อ / คร. / พ / จ / สน.ตรวจ / สปสช. อ 2553 คร. / อ / พ / จ / สน.ตรวจ / สปสช. คร 2554

ข้อสังเกตที่สำคัญจาก M&E ปี 2553 ภาพรวมของการจัดการแผนบูรณาการเชิงรุกเพื่อแก้ปัญหาในพื้นที่ระดับจังหวัดยังไม่ชัดเจน ความสามารถในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของหน่วยงานพื้นที่ เป็นจุดอ่อนที่ควรพัฒนาศักยภาพโดยด่วน ทั้งระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล โดยเฉพาะเรื่องมาตรการแก้ปัญหา ควรพัฒนาบทบาทกำกับติดตาม และพัฒนาระบบ M&E ของ สสจ. ให้เข้มแข็ง ความร่วมมือระหว่าง สปสช. เขต และเขตตรวจราชการยังมีความเหลื่อมล้ำเรื่องเขต การหารือร่วมกันน้อยในบางเขต ศักยภาพและการรับรู้ของศูนย์วิชาการเขต สปสช. เขต ยังห่างจากปัญหาจริงในระดับพื้นที่

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของการดำเนินงานปี 2553 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรค 1. ควรพัฒนาศักยภาพ M&E ของทีมประเมินระดับเขต 2. ศูนย์วิชาการควรมีผู้รับผิดชอบงาน M&E และมีกรอบโครงสร้างหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน 3 ศูนย์วิชาการควรมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์สภาพปัญหาร่วมกับจังหวัด และเป็นพี่เลี้ยงในการจัดทำแผนแก้ไขปัญหา

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของการดำเนินงานปี 2553 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรค (2) 5. ส่วนกลางควรกำหนดตัวชี้วัดการดำเนินงาน P&P ให้ชัดเจนและตรงกันระหว่าง กสธ. (กรมที่เกี่ยวข้อง) กับ สปสช. รวมทั้งถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานและการจัดสรรงบฯ ให้ผู้บริหารทุกระดับทราบและเข้าใจร่วมกัน 6. ควรพัฒนาบทบาทของการสนับสนุนทั้งในระดับจังหวัดและอำเภอ ในการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล โดยเฉพาะด้านวิชาการ การกำกับ ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการต่างๆ

แผนการดำเนินงาน M&E ปี 2554 กิจกรรม เวลา 1. ประชุมกำหนดกรอบการดำเนินงานฯ 21 – 22 เม.ย. 54 2. ประชุมชี้แจงผู้ประเมินระดับเขตฯ 26 พ.ค. 54 3. ประชุมนำเสนอผลการประเมินฯ 1 – 2 ก.ย. 54

ข้อเสนอแนะ ต่อแนวทางการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค ปี 2554 โดย นายแพทย์สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขต 5 ณ 28 กพ. 54 โครงการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ เป็นเครื่องมือหนึ่งตามยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของพื้นที่ ระยะแรกทำให้เป็นกระบวนการที่จับต้องได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติภารกิจที่กำหนด (Standard performance) แต่ระยะต่อไปต้องต่อยอดเรื่องคุณภาพ (Above standard) กรมควบคุมโรคต้องผลักดันยุทธศาสตร์ให้ไปสู่ทิศทางของฐานปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคที่เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ ในการรับมือให้ทันกับสถานการณ์ โดยเฉพาะนโยบายการกระจายอำนาจ ที่ส่งผลให้ท้องถิ่นมีบทบาทมากขึ้น ซึ่งมิใช่การผลักภาระทั้งหมดให้ท้องถิ่น อำเภอจึงต้องหาจุดสมดุลของการทำงานร่วมกันกับท้องถิ่นให้ได้

ข้อเสนอแนะ ต่อแนวทางการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค ปี 2554 (2) ข้อเสนอแนะ ต่อแนวทางการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค ปี 2554 (2) กรอบการประเมินแบบมุ่งเน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่แท้จริง ผู้ประเมินจาก สคร. ต้องให้ความสำคัญในประเด็น การวิเคราะห์ปัญหาที่จะนำไปสู่การวางแผน ควรเน้นที่การวิเคราะห์หาสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง และมาตรการที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลทางระบาดวิทยา ระบบการกำกับติดตามและประเมินผลจากจังหวัด รวมทั้งการสนับสนุนอำเภอ

ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนาต่อยอด ในระยะต่อไป ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนาต่อยอด ในระยะต่อไป การประเมินและจัดการความเสี่ยง เพื่อให้มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การสรุปผลงานของอำเภอในคุณลักษณะข้อ 5 ควรเสนอเป็นเอกสารวิชาการให้ผู้ประเมินได้ตรวจสอบ ซึ่งหากผ่านการคัดเลือกเป็นอำเภอต้นแบบ จะมีคุณค่าทางวิชาการ ควรวางกรอบการพัฒนาเชิงคุณภาพในอนาคต โดยให้น้ำหนักกับบทบาทของ อปท. และการสนับสนุนด้านวิชาการจากอำเภอ

ขอบคุณค่ะ