นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
Advertisements

แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ความหมายและกระบวนการ
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
เทรนด์ “สุขภาพโลก” ในปี 2555
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สำนักโรคงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา

ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย 2550-2559 วิสัยทัศน์ ประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิต ด้วยการรวมพลังขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วนอย่างบูรณาการ สมดุล ยั่งยืนและเป็นสุขบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

พันธกิจ สร้างชุมชน ท้องถิ่น สังคมที่ตระหนัก ลดปัจจัยเสี่ยง เสริมปัจจัยเอื้อ และมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในการผลักดันนโยบายสู่การปฏิบัติการค้นหา เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม จัดการปัญหาและพัฒนาของทุกภาคส่วนอย่างเป็นระบบ องค์รวม ครอบคลุมมีประสิทธิภาพ

ประเด็นยุทธศาสตร์ นโยบายสาธารณะสร้างสุข การขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ การพัฒนาศักยภาพชุมชน การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและการจัดการโรค การสร้างความเข้มแข็งของระบบสนับสนุน ยุทธศาสตร์

มาตรฐานตัวชี้วัด: การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

สื่อสารเตือนภัย(3) ประเมินสถานการณ์(2) นโยบาย/แผน(2) คณะกรรมการ(2) ประชุมติดตาม(1) ประเมินสถานการณ์(2) สื่อสารเตือนภัย(3) กระบวนการ (4) > 1 ชุมชน (1) ลดเกลือ/หวาน/มัน เพิ่มผักผลไม้ (2) Activity (2) บุหรี่/สุรา (1) HbA1C (2) Acute Stroke ได้รับยาตามแนวทางรักษา Stroke Unit (2) ทะเบียน/ติดตาม มีคู่มือฯ ดำเนินงานคัดกรองฯ (2) (1) (3) 6

ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยง (ปานกลาง) ได้รับบริการลดเสี่ยงต่อเนื่อง บูรณาการแผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ที่มีความสำคัญระดับชาติ (National priority Program) เป้าหมายปี 2552 ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยง (ปานกลาง) ได้รับบริการลดเสี่ยงต่อเนื่อง

คำจำกัดความ กลุ่มเสี่ยง (ปานกลาง) หมายถึง ประชาชนที่ผ่านการคัดกรองจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและได้รับการแจ้งผลว่าจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูงปานกลางต่อโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง (BP: 120-139/80-89 mmHg, FPG:100-125 mg%) บริการลดเสี่ยงต่อเนื่อง หมายถึง การได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง และได้รับการติดตามประเมินผลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างน้อย 1 ครั้ง (จากหนังสือ “แนวปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการจัดบริการคัดกรองและเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อในสถานบริการและในชุมชน” ของสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค)

การดำเนินงานประกอบด้วย 6 มาตรการหลัก ดังนี้ มาตรการที่ 1 ระบบการเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมสุขภาพ และการคัดกรองความเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงและเบาหวาน 2 ระดับ (ระดับชุมชนและระดับสถานบริการ) มาตรการที่ 2 การสร้างความตระหนักการให้ความรู้ในวงกว้างและการรณรงค์สร้างกระแสเน้นเรื่องการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต มาตรการที่ 3 การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมและลดเสี่ยงในชุมชน

มาตรการที่ 4 การให้คำปรึกษาและปรับพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยในสถานบริการ มาตรการที่ 5 การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดำเนินงานตาม แผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มีความสำคัญ ระดับชาติให้มีความเข้มแข็ง มาตรการที่ 6 การนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล

ป้องกันดีขึ้น รักษาดีขึ้น ลดเสี่ยง ลดโรค